คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 4: พระกัมภีร์มอรมอน: ศิลาหลักแห่งศาสนาฃองเรา


บทที่ 4

พระกัมภีร์มอรมอน: ศิลาหลักแห่งศาสนาฃองเรา

“ข้าพเจ้าบอกพี่น้องว่าพระคัมภีร์มอรมอน เป็นหนังสือที่ถูกต้องที่สุดบนแผ่นดินโลก และเป็นศิลาหลักแห่งศาสนาของเรา”

จากชีีวิตฃองโจเซฟ ลโมิธ

สามปีกว่าผ่านไปนับตั้งแต่เช้าวันนั้นในปี ค.ศ. 1820 เมื่อโจเซฟ สมิธสวดอ้อนวอนทูลขอให้รู้ว่าท่านควรเช้าร่วมกับศาสนาจักรใด เวลานี้ศาสดาหนุ่มอายุ 17 ปี และท่านปรารถนาจะรู้ฐานะของท่านต่อเบื้องพระพักตร์พระผู้เป็นเจ้าและ ได้รับอภัย ในคืนวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1823 โจเซฟปลีกตัวขึ้นไปบนห้อง นอนใด้หลังคาในห้านไห้ซุงของครอบครัวที่เมืองพอลไมรา รัฐนิวยอร์ก หลังจากทุกคนในห้องหลับหมดแอ้วท่านยังไมหลับแต่ำลังสวดอ้อนวอนอย่างจริงใจ เพื่อให้รู้พระประสงค์ของพระผู้เปีนเจ้าที่ทรงมืดอท่านมากขึ้น “ช้าพเจ้าห้อมตน สวดและอ้อนวอนพระผู้เปีนเจ้าผู้ทรงฤทธานุภาพ” ท่านกล่าว “เพื่อการยก โทษบาปและความผิดพลาดทั้งหมดของช้าพเจ้า และเพื่อการแสดงให้ประจักษ์ แก่ข้าพเจ้าด้วย เพื่อข้าพเจ้าจะได้รู้ถึงสภาพและฐานะของช้าพเจ้าต่อพระองค์ เพราะช้าพเจ้ามืความเชื่อมั่นเต็มที่ว่าจะได้รับการแสดงให้ประจักษ์จากสวรรค์ตัง ที่ข้าพเจ้าได้รับมาก่อนครั้งหนึ่ง” (โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:29)

เพื่อตอบกำสวดอ้อนวอนของโจเซฟ ท่านเห็นความสว่างปรากฎในห้องซึ่ง สว่างจ้าขึ้นเรื่อยๆ จนห้อง “สว่างยิ่งกว่าตอนเที่ยงวัน” ทูตสวรรค์องค์หนึ่ง ปรากฎที่ข้างเตียง โดยยืนอยู่ในอากาศ สวมเสื้อคลุม “ขาวผุดผ่อง” (โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:30–31) ทูตผู้นี้คืกํโมโรใน ศาสดาชาวนีไฟคนสุดห้าย ผู้ฟัง แผ่นจารึกเมื่อหลายร้อยปีก่อนซึ่งพระคัมภีร์มอรมอนจารึกอยู่บนนั้นและท่านถือ กุญแจเกี่ยวเนื่องกับบันทึกศักดี์สิทธิ์นี้ (ดู ค.พ. 27:5) ท่านถูกส่งมาบอกโจเซฟ ว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงให้อภัยบาปของท่าน1 และทรงมีงานใหญ่ให้ท่านกํา ส่วน หนึ่งของงานนี้คือโจเซฟต้องไปยังเนินเขาใกล้บ้านที่มีบันทึกศักดี้สิทธี้จารึกบน แผ่นทองคำฝังอยู่ บันทึกเหล่านี้ศาสดาผู้มีชีวิตอยู่ในทวีปอเมริกาแต่โบราณ เขียนไล้ โจเซฟต้องแปลบันทึกนี้และนำออกมาสู่โลกโดยของประทานและอำนาจของพระผู้เป็นเจ้า

วันรุ่งขึ้น โจเซฟไปยังเนินเขาที่ฝังแผ่นจารึกพระคัมภีร์มอรมอน ที่นั่นท่าน พบโมโรไนและเห็นแผ่นจารึก แต่โมโรไนบอกว่าท่านจะยังไมไต้รับจนกว่าจะ ครบสี่ปี ท่านต้องเริ่มช่วงเวลาสำคัญของการเตรียมตัวเพื่อจะทำให้ท่านคู่ควร แก่งานคักดิ์สิทธิ์ของการแปลพระคัมภีร์มอรมอน โจเซฟกลับไปที่เนินเขาทุกๆ วันที่ 22 กันยายนติดต่อกันสี่ปีเพื่อรับคำแนะนำเพิ่มเติมจากโมโรไน (ดู โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:33–54) ช่วงเวลานี้ ท่านยังไต้รับ “การเยือนหลายครั้ง จากเหล่าเทพของพระผู้เป็นเจ้าผู้เผยความน่าเกรงขามและความรุ่งโรจน์ของ เหตุการณ์ต่างๆ ที่ควรอุบัติขึ้นในวันเวลาสุดบ้าย”2

การเตรียมช่วงนี้นำพรของการแต่งงานมาสู่ชีวิตของศาสดาต้วย ในเดือน มกราคม ค.ศ. 1827 ท่านแต่งงานกับเอ็มมา เฮล ผู้ที่ท่านเคยพบระหว่างทํางาน อยู่ในเมืองฮาร์โมนี รัฐเพนซิลเวเนีย เอ็มมาจะเป็นผู้ช่วยคนสำคัญของศาสดา ตลอดการปฏิบัติศาสนกิจของท่าน วันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1827 เธอไปที่ เนินเขากับท่านและรออยู่ใกล้ๆ ขณะโมโรไนมอบแผ่นจารึกไว้ในมือศาสดา

โดยที่มืบันทึกศักดิ์สิทธิ์อยู่ในครอบครอง ในไข่ช้าโจเซฟก็ทราบเหตุผลที่ โมโรไนเดือนท่านให้เก็บรักษาบันทึกอย่างดี (ดู โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:59–60) กลุ่มคนร้ายในท้องที่เริ่มก่อกวนศาสดา โดยพยายามขโมยแผ่นจารึกอยู่ หลายครั้ง ในวันอันหนาวเหน็บของเดือนธันวาคม ค.ศ. 1827 โดยหวังว่าจะพบ สถานที่ให้ทํางานไต้อย่างสงบ โจเซฟกับเอ็มมาจึงออกจากบ้านครอบครัวสมิธ ไปหลบภัยอยู่กับบิดามารดาของเอ็มมาในฮาร์โมนี ที่นั่นศาสดาเริ่มงานแปล เดือนกุมภาพันธ์ปีต่อมา มาร์ติน แฮร์รส สหายของครอบครัวสมิธจากพอลไมรา ไต้รับการดลใจให้ไปที่ฮาร์โมนีเพื่อช่วยศาสดา โดยมืมาร์ตินเป็นผู้จดคำแปลโจเซฟจึงทําการแปลบันทึกคักดิ์สิทธิ์ต่อไป

ผลงานของศาสดาต่อมาไต้รับการจัดพิมพัโดยมืชื่อว่าพระคัมภีร์มอรมอน หนังสือพิเศษเล่มนี้ซึ่งประกอบต้วยความสมบูรณ์ของพระกิตติคุณจะเป็นประจักษ์พยานถึงความจริงของศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย และพันธกิจแห่งการเป็นศาสดาของโจเซฟ สมิธ

คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ

พระคัมภีร์มอรมอนแปลโดยของประทานและ อำนาจของพระผู้!ป็นเจ้า

เพื่อตอบคำถามว่า “ท่านได้พระคัมภีร์มอรมอนอย่างไรและที่ไหน” โจเซฟ ตอบว่า “โมโรไนผู้ฝังแผ่นจารึกไว้ที่เนินเขาในแมนเชสเตอร์ ออนแทริโอเคาน์ตี้ รัฐนิวยอร์ก ผู้สิ้นชีวิตและลุกขึ้นจากความตายอีกครั้ง ได้มาปรากฎต่อข้าพเจ้า และบอกข้าพเจ้าว่าแผ่นจารึกอยู่ที่ไหน และให้คำแนะนำแก่ข้าพเจ้าว่าจะได้แผ่น จารึกอย่างไร ข้าพเจ้าได้แผ่นจารึก พร้อมกับยูรัมและธัมมัม ซึ่งข้าพเจ้าแปล แผ่นจารึกโดยใช้เครื่องมือดังกล่าว และด้วยเหตุนี้พระคัมภีรมอรมอนจึงออก มา”3

“[โมโรไน] บอกข้าพเจ้าว่าแผ่นจารึกซึ่งจารึกความย่อของบันทึกของเหล่า ศาสดาสมัยโบราณที่เคยอยู่บนทวีปนี้ถูกฝังไว้ที่ไหน… บันทึกเหล่านี้ถูกจารึกไว้ บนแผ่นโลหะซึ่งสภาพที่เห็นภายนอกคือทองคำ แต่ละแผ่นกว้างหกนิ้วและ ยาวแปดนิ้ว หนาไข่เท่าแผ่นดีบุกธรรมดา เต็มไปด้วยอักขระเป็นตัวอักษรอียิปต์ และรวมเข้าด้วยกันเหมือนเล่มหนังสือ แต่เป็นการเย็บเล่มโดยห่วงสามห่วง แผ่นจารึกชุดนี้มืความหนาประมาณหกนิ้ว ส่วนหนึ่งของบันทึกถูกผนึกไว้ ตัว อักษรบนส่วนที่ถูกผนึกมืขนาดเล็กและจารึกไว้อย่างสวยงาม ทั้งชุดมืร่องรอย มากมายที่แสดงถึงความเก่าแก่และความเชี่ยวชาญอย่างมากในศิลปะการจารึก มีเครื่องมือแปลกตาอย่างหนึ่งพบอยู่กับบันทึก ซึ่งคนโบราณเรียกว่า ‘ยูรัมและ ธัมบัม’ ประกอบด้วยหินโปร่งใสสองก้อนอยู่ในกรอบด้นโด้งที่ผูกติดอยู่กับแผ่น ทับทรวง ข้าพเจ้าแปลบันทึกโดยของประทานและอำนาจของพระผู้เป็นเจ้าโดย มืยูรัมและธัมบัมเป็นสื่อกลาง”4

“โดยอำนาจของพระผู้เป็นเจ้าข้าพเจ้าแปลพระคัมภีร์มอรมอนจากอักษรภาพ โบราณซึ่งมืความรู้ซึ่งสูญหายไปจากโลก เด็กหนุ่มไร้การศึกษาอย่างข้าพเจ้ายืน โดดเดี่ยวในเหตุการณ์อันนำอัศจรรย์นั้นโดยใช้การเปีดเผยใหม่ต่อสู้กับปัญญา ของโลกและความไม่รู้ที่สั่งสมมาสิบแปดศตวรรษ”5

“ข้าพเจ้าประสงค์จะบอก ณ ที่นี้ว่าหน้าชื่อเรื่องของพระคัมภีร์มอรมอนแปล จากแผ่นจารึกโดยตรง นำมาจากแผ่นสูดท้ายด้านช้ายมือของแผ่นจารึกทั้งชุด ซึ่ง มืบันทึกที่แปล้แห้วบรรจุอยู่ ภาษาของงานเขียนทั้งหมดเหมือนงานเขียนโดย ทั่วไปในภาษาฮีบรู [นั่นก็คือเขียนจากขวาไปซ้าย] และหน้าชื่อเรื่องดังกล่าว ไม่ใช่ความเรียงสมัยใหม่ ทั้งไม่ใช่ความเรียงของข้าพเจ้าหรือของมนุษย์คนใดที่ เคยมีชีวิตหรือยังมีชีวิตอยู่ในชั่วอายุนี้… ข้าพเจ้าให้หน้าชื่อเรื่องส่วนนั้นของ พระคัมภีร์มอรมอนฉบับภาษาอังกฤษไว้ข้างล่างซึ่งเป็นการแปลจริงตามหน้าชื่อ เรื่องของพระคัมภีร์มอรมอนต้นฉบับที่บันทึกไว้บนแผ่นจารึก

“ ‘พระคัมภีร์มอรมอน

“ ‘เรื่องราวซึ่งเขียนไว้ด้วยมือของมอรมอนบนแผ่นจารึก ที่ได้มาจากแผ่นจารึกของนีไฟ

“‘ดังนั้นพระคัมภีร์นี้จึงเป็นความย่อจากบันทึกของผู้คนของมีไฟ และของ ชาวเลบันต้วย—เขียนถึงชาวเลบันผู้เป็นส่วนหนึ่งที่เหลืออยู่ของเชื้อสายอิสราเอล และถึงชาวยิวและคนต่างชาติด้วย—เขียนโดยทางบัญญัติและโดยวิญญาณของการพยากรณ์และของการเปีดเผยด้วย—เขียนและผนึกและซ่อนไว้กับ พระเจ้าเพื่อจะไต้ไม่ถูกทำลาย—เพื่อจะออกมาโดยของประทานและอำนาจของ พระผู้เป็นเจ้าเพื่อการแปลพระคัมภีร์นั้น—ผนึกไว้โดยมือของโมโรไน และซ่อน ไว้กับพระเจ้า เพื่อจะออกมาในเวลาอ้นเหมาะสมโดยผ่านคนต่างชาติ—การ แปลพระคัมภีร์นั้นได้โดยของประทานของพระผู้เป็นเจ้า

“‘ความย่อที่เอามาจากหนังสืออีเธอร์มีอยู่ด้วย ซึ่งเป็นบันทึกของผู้คนของ เจเร็ดซึ่งกระจัดกระจายไปในเวลาที่พระเจ้าทรงทำให้ภาษาของผู้คนสับสนเมื่อ คนเหล่านั้นกำลังสร้างหอสูงเพื่อไปให้ถึงสวรรค์—อันเป็นไปเพื่อแสดงแก่ผู้ที่ เหลืออยู่ของเชื้อสายอิสราเอลว่าพระเจ้าทรงทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่อะไรบ้างเพื่อบรรพ บุรุษของเขา และเพื่อเขาจะได้รู้จักพันธสัญญาของพระเจ้าว่าเขาจะไข่ถูกทอดทิ้ง ตลอดกาล—และเพื่อให้ชาวยิวและคนต่างชาติตระหนักด้วยว่า พระเยซู คือ พระคริสต์ พระผู้เป็นเจ้าผู้สถิตนิรันดร์ ทรงแสดงองค์ให้ประจักษ์แก่ประชาชาติ ทั้งหลาย—และบัดนี้หากจะมีข้อบกพร่องก็เป็นความผิดของมนุษย์ ดังนั้นจง อย่าตำหนิเรื่องของพระผู้เป็นเจ้าเพื่อจะได้พบว่าท่านไข่มีจุดต่างพร้อยที่บัลลังก์ พิพากษาของพระคริสต์’”6

พระปรีชาญาณของพระเจ้ายิ่งใหญ่กว่า ความฉลาดแกมโกงของมาร

เมื่อถึงอันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1828 งานของโจเซฟ สมิธ เกี่ยวกับการ แปลแผ่นจารึกพระคัมภีร์มอรมอนปีต์นฉบับอยู่ 116 หน้า จากนั้นก็เถิดเหตุการณ์หนึ่งกี่สอนบทเรียนอันถึกซึ้งแก่ศาสดาเกี่ยวกับพระหัตถ์นำทางของพระผู้เป็นเจ้าในการนำบันทึกคักดิ์สิทธิ์นี้ออกนา ศาสดาบันทึกกังนี้ “ไข่นานหลังจาก คุณแฮร์ริสเริ่มเขียนให้ข้าพเจ้า เขาก็เริ่มรบเร้าข้าพเจ้าเพื่อขออนุญาตนำงานเขียน ไปให้คนที่บ้านดู และต้องการให้ข้าพเจ้าทูลถามพระเจ้าผ่านยูรัมและธัมบัมว่า เขาจะทำเช่นนั้นไต้หรือไข่ ข้าพเจ้าทูลถาม และคำตอบคือเขาต้องไข่ทำเช่นนั้น อย่างไรก็ดี เขาไข่พอใจคำตอบที่ไต้รับและต้องการให้ข้าพเจ้าทูลถามอีกครั้ง ข้าพเจ้าทำตาม และคำตอบเป็นเหมือนครั้งก่อน เขายังไข่พอใจและยืนกรานจะ ให้ข้าพเจ้าทูลถามอีกครั้ง

“หลังจากทนรบเร้าไข่ไหวข้าพเจ้าจึงทูลถามพระเจ้าอีกครั้ง และพระองค์ ทรงอนุญาตให้เขาเอางานเขียนไปโดยมีเงื่อนไขว่าจะดูไต้เฉพาะพรืเซิร์ฟเวด แฮร์ริสพื่ชาย ภรรยา พ่อแม่ และนางก็อบบ์พื่สาวของภรรยาเท่านั้น จากคำ ตอบครั้งสูดท้ายนี้ ข้าพเจ้าขอให้เขาทำพันธสัญญาก้บข้าพเจ้าอย่างจริงจังว่าเขา จะไข่ทำนอกเหนือคำสั่งที่ไต้รับ เขาให้สัญญา รับปากตามที่ข้าพเจ้าขอ และนำ งานเขียนไปตามทางของเขา อย่างไรก็๑ ทั้งๆ ที่มีข้อจำกัดีอย่างเคร่งครัดไว้ให้ เขา และความจริงจังของพันธสัญญาที่เขาทำไว้กับข้าพเจ้า เขาก็ยังให้คนอื่นดู และคนเหล่านั้นใข้อุบายเอางานเขียนไปและไข่ได้คืนอีกเลยจนถึงวันนี้”7

ในคำนำของพระคัมภีร์มอรมอนฉบ้บแรก ศาสดาประกาศว่าการหายไปของ 116 หน้าไม่สามารถทำให้จุดประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าล้มเหลวได้: “เนื่องด้วย มีข่าวลือมากมายแพร่สะพัดไปทั่วเกี่ยวกับ [พระคัมภีร์มอรมอน] และผู้ประสงค์ ร้ายใข้มาตรการมากมายที่ไข่ชอบด้วยกฎหมายทำลายข้าพเจ้าและงานนั้น ข้าพเจ้าจึงจะบอกให้ท่านทราบว่าโดยของประทานและอำนาจของพระผู้เป็นเจ้า ข้าพเจ้าแปลและให้จดไว้หนึ่งร้อยสิบหกหน้าซึ่งข้าพเจ้านำมาจากหนังสือลืไฮ ซึ่งเป็นเรื่องราวที่มอรมอนย่อมาจากแผ่นจารึกของลืไฮ และมีคนขโมยไปจาก ข้าพเจ้า แม้ข้าพเจ้าจะพยายามอย่างเต็มที่เพื่อเอาคืนก็ตาม—และโดยได้รับบัญชาจากพระเจ้าว่าข้าพเจ้าไข่ควรแปลเรื่องเดิมอีกเพราะซาตานได้ใส่ไว้ในใจพวก เขาให้ลองดีพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้าโดยเปลี่ยนเนื้อความเพื่อให้อ่านต่างไปจากที่ ข้าพเจ้าแปลและให้จดไว้ และหากข้าพเจ้านำเนื้อความเดียวกันนี้ออกมาอีก หรืออีกนัยหนึ่ง หากข้าพเจ้าแปลเรื่องเดิมอีกครั้ง ส่วนที่ถูกขโมยไปจะถูกพิมพ์ ออกมา และซาตานจะยั่วยุใจของคนรุ่นนี้ไม่ให้พวกเขายอมรับงานดังกล่าว แต่ ดูเถิด พระเจ้าตรัสกับข้าพเจ้าว่า เราจะไข่ยอมให้ซาตานทำแผนการชั่วของเขา สำเร็จในเรื่องนี้ ฉะนั้นเจ้าจะแปลจากแผ่นจารึกของมีไฟจนมาถึงเรื่องซึ่งเจ้าแปล ซึ่งเจ้าเก็บไว้ และดูเถิด เจ้าจงพิมพ์นันเป็นบันทึกของมีไฟ และเราจะทำให้คน ที่เปลี่ยนแปลงอำของเราจำนนดังนั้น เราจะไข่ยอมให้เขาทำลายงานของเรา แห้จริงแท้ว เราจะแสดงกับพวกเขาว่าปรีชาญาณของเรายิ่งใหญ่กว่าความฉลาด แกมโกงของมาร [ดู ค.พ. 10:38–43]

“ด้วยเหตุนี้เพื่อเชื่อฟังพระบัญชาของพระผู้เป็นเจ้า ข้าพเจ้าจึงทำตามที่พระองค์ทรงบัญชาข้าพเจ้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ใดยพระคุณและพระเมตตาของพระองค์”8

พระคัมภีร์มอรมอนเป็นพระวจนะของพระผู้เป็นเจ้า

“ข้าพเจ้าบอกพี่น้องทั้งหลายว่าพระคัมภีร์มอรมอนเปีนหนังสือที่ถูกด้องที่สุด บนแผ่นดินโลก และเป็นศิลาหลักแห่งศาสนาของเรา และมนุษย์จะใกล้ชิดพระผู้เป็นเจ้ามากขึ้นโดยการปฏิบัติตามหลักอำสอนที่อยู่ในนั้นมากกว่าหนังสือเล่ม อื่น”9

หลักแห่งความเชื่อข้อ 8: “เราเชื่อว่าพระคัมภีร์ไมเมิจเป็นคำของพระผู้เป็นเจ้าตราบที่แปลมันถูกต้อง เราเชื่อต้วยว่าพระคัมภีร์มอรมอนเป็นคำของพระผู้เป็นเจ้า”10

“[พระคัมภีร์มอรมอน] บอกเราว่าพระผู้ช่วยให้รอดของเราทรงปรากฎองค์ บนทวีปนี้หลังจากพระองค์ฟืนคืนพระชนม์ บอกว่าพระองค์ทรงหว่านพระกิตติคุณไว้ที่นี่อย่างครบภ้วนบริบูรณ์ พร้อมต้วยพลังอำนาจ และพรทั้งหมดของ พระกิตติคุณ พวกเขามีอัครสาวก ศาสดา ศิษยากิบาล ผู้สอน และผู้ประสาทพร มีระเบียบ ฐานะปุโรหิต พิธีการ ของประทาน อำนาจ และพรเดียวก้บที่ทวีป ทางตะวันออกไต้รับ บอกว่าผู้คนถูกตัดออกเพราะการล่วงละเมิดของพวกเขา บอกว่าศาสดาคนสุดท้ายที่อยู่ในบรรดาพวกเขาไต้รับบัญชาให้เขียนความย่อ เกี่ยวกับคำพยากรณ์ ประวัติศาสตร์ เป็นต้น และซ่อนไว้ในดิน และบอกว่า ความย่อตังกล่าวจะออกมาและเป็นหนึ่งเดียวกับพระคัมภีร์ไบเบิลเพื่อให้บรรลุ จุดประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าในวันเวลาสุดห้าย”11

เดวิด ออสบอร์นอยู่เมื่อโจเซฟ สบิธสอนที่ฟาร์วสท์ มิสซูรี ในปี ค.ศ. 1837 เขาเล่าถ้อยคำของศาสดาดังต่อไปนี้ “พระคัมภีร์มอรมอนจริง เพราะ นั่นคือจุดประสงค์ของมัน ข้าพเจ้าคาดหวังให้รับผิดชอบต่อประจักษ์พยานนี้ใน วันพิพากษา12

พระคัมภีร์ให้กำลังใจและปลอบโยนเรา และช่วยให้เราเข้าใจความรอด

“เรื่องที่เกี่ยวข้องคับการเสริมสร้างอาณาจักรคือการพิมพ์และการเผยแพร่ พระคัมภีร์มอรมอน พระคัมภีร์คำสอนและพันธสัญญา… และ [พระคัมภีร์ไมเมิล] ฉบับแปลใหม่ ไข่จำเป็นต้องพูดอะไรเลยเกี่ยวกับงานเหล่านี้ คนที่อ่าน และคนที่ดื่มจากสายธารแห่งความรู้ซึ่งหลั่งไหลมารู้ว่าจะประจักษ์ในคุณค่าไต้ อย่างไร และแห้คนโง่อาจเย้ยหยัน แต่พระคัมภีร์เหล่านี้มีไว้เพื่อให้มนุษย์เข้าใจ ความรอดอย่างถ่องแท้ กวาดล้างตะกอนของความงมงายที่มีมานาน เผยให้ ทราบถึงปวงมหกิจของพระเยโฮวาห์ที่ทรงกระทําสำเร็จแล้ว และสำแดงอนาคต ทั้งในสรรพสิ่งที่น่าหวาดหวั่นและน่าชื่นชมยินดี ไข่ต้องสงสัยเลยว่าคนที่ไต้ ประโยชน์จากการศึกษางานเหล่านี้จะแข่งคันส่งพระคัมภีร์ออกไปทั่วโลกต้วย ความกระดีอรือร้น เพื่อบุตรทุกคนของแอตับจะไต้รับเอกสิทธี้เดียวกันและปลื้ม ปีติในความจริงเดียวกัน”13

“[เราจัดพิมพ์พระคัมภีร์ยุคสุดท้าย] เพื่อใท้กำลังใจและปลอบโยนผู้มีใจซื่อสัตย์และเดินทางต่อไปในความพอใจ ขณะที่จิตวิญญาณของพวกเขาเปิดรับและ ความเข้าใจของพวกเขากระจ่างเพราะความรู้เรื่องงานของพระผู้เป็นเจ้าผ่าน บรรพบุรุษในอดีตเช่นเดียวกับสิ่งที่พระองค์จะทรงกระทำในยุคสุดท้ายเพื่อให้ ภ้อยกำของบรรพบุรุษบังเกิดลัมฤทธิผล”14

“เรารับงานเขียนศักดิ์สิทธิ์ไว้ในมือเรา และยอมรับว่างานเขียนเหล่านี้ได้รับ การดลใจโดยตรงเพื่อประโยชน์ของมนุษย์ เราเชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงถ่อมองค์ ตรัสจากสวรรค์และทรงประกาศพระประสงค์ของพระองค์เกี่ยวกับครอบครัว มนุษย์ ประทานกฎที่เที่ยงธรรมและคักดิ์สิทธิ์ให้พวกเขา ตั้งกฎควบคุมความ ประพฤติของพวกเขา และนำพวกเขาไปในทางตรง เพื่อในเวลาอันเหมาะสม พระองค์จะทรงรับพวกเขาไว้กับพระองค์และทำใท้พวกเขาเป็นทายาทร่วมกับ พระบุตรของพระองค์

“แต่เมื่อยอมรับความจริงที่ว่าความประสงค์โดยตรงของสวรรค์มีีอยุ่ในพระคัมภีร์ ในฐานะมนุษย์ที่มีเหตุผลเราไข่ถูกผูกมัดให้ดำเนินชีวิตตามหลักคำสอน ทั้งหมดในนั้นหรอกหรือ หากเพียงแต่ยอมรับว่านี่คือความประสงค์ของสวรรค์ เท่านั้นจะเอื้อประโยชน์ต่อเราหรือหากเราไม่ปฏิบัติตามคำสอนทั้งหมดในนั้น เรามิได้สบประมาทพระผู้ทรงปรีชาญาณสูงสุดของสวรรค์หรอกหรือเมื่อเรายอม รับความจริงของคำสอนในนั้นแต่ไข่ปฏิบัติตาม วิถีแห่งความประพฤติเช่นนั้น มิได้ทําให้เราลงตํ่ากว่าความรู้ของเราและปัญญาอันประเสริฐที่สวรรค์ประสาท ให้เราหรอกหรือ เพราะเหตุผลเหล่านี้ หากเรามีการเปีดเผยโดยตรงที่เราได้รับ จากสวรรค์ แน่นอนว่าการเปิดเผยเหล่านั้นย่อมมิได้ประทานไว้ให้้ล้อเล่นโดยไม่มำความไม่พอใจและการแก้แด้นที่จะลงมาบนศีรษะผู้ล้อเลียน หากมีความยุติธรรมในสวรรค์ ทุกคนที่ยอมรับความจริงและพลังแห่งคำสอนของพระผู้เป็นเจ้า จะด้องยอมรับพรและการสาปแช่งของพระองค์ดังที่เขียนไว้ในหนังสือศักดิ์สิทธิ์ ดังกล่าว…

“…คนที่ตระหนักถึงพลังอำนาจของพระผู้ทรงพลานุภาพอันไพศาล ซึ่งถูก จารึกไว้บนสวรรค์ย่อมมองเห็นลายพระหัตถ์ของพระผู้เป็นเจ้าในหนังสือคักดลทธี้นี้ และคนที่อ่านบ่อยที่สูดจะชอบมากที่สูด และคนที่คุ้นเคยกับหนังสือนี้ จะรู้จักพระหัตถ์นั้นไข่ว่าเขาจะเห็นที่ใดก็ตาม และเมื่อพบแล้ว เขาจะไข่เพียง ยอมรับเท่านั้นแต่จะเชื่อฟ้งหลักคำสอนทั้งหมดที่อยุ่ในนั้นด้วย”15

“โอ้อัครสาวกสิบสอง! และสิทธิชนทั้งหลายทั้งปวง! จงใช้ กุญแจ ดอก สำคัญนี้ให้เป็นประโยชน์—ในการทดลองทั้งหมดของท่าน ความเดือดร้อน การล่อลวง ความทุกข์ทรมาน พันธนาการ การคุมขัง และความตาย จงสนใจ กุญแจดอกนั้น เพื่อท่านจะไข่ทรยศต่อสวรรค์ เพื่อท่านจะไข่ทรยศต่อพระเยซูคริสต์ เพื่อท่านจะไข่ทรยศต่อพื่น์อง เพื่อท่านจะไข่ทรยศต่อการเปีดเผยของ พระผู้เป็นเจ้า ไข่ว่าจะในพระคัมภีร์ไบเบิล พระคัมภีร์มอรมอน หรือพระคัมภีร์ คำสอนและพันธสัญญา หรือพระคัมภีร์เล่มอื่นที่เคยประทานไว้และจะประทาน และเปิดเผยต่อมนุษย์ในโลกนี้หรือโลกที่จะมาถึง”16

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและสอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนประสบการณ์ที่โจเซฟ สมิธได้รับระหว่างวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1823 ถึงวันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1827 (หน้า 61–63) ท่านคิดว่าประสบการณ์เหล่านี้เตรียมโจเซฟให้แปลแผ่นจารึกทองคำอย่างไร ท่านเตรียมตัวใน ด้านใดบ้างเพื่อให้พร้อมรับการเรียกจากพระเจ้า

  • อ่านทวนย่อหน้าแรกในหน้า 66 พร้อมทั้งสังเกตจุดประสงค์ของพระคัมภีร์ มอรมอน ท่านเคยเห็นจุดประสงค์เหล่านี้บังเกิดสัมฤทธิผลด้านใดห้างใน ชีวิตท่านและในชีวิตผู้อื่น

  • ขณะไตร่ตรองเรื่องราวของศาสดาเกี่ยวกับการได้รับบัญชาไข่ให้แปล 166 หน้าที่หายไปซํ้า (หน้า 66–67) ท่านเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับพระผู้เป็นเจ้า ความเข้าใจในเรื่องนี้อาจส่งผลต่อการตัดสินใจของเราอย่างไร

  • อ่านย่อหน้าแรกในหน้า 67 สังเกตว่าในประตูโค้งที่ทําจากหิน ศิลาหลักจะ อยู่บนสุดโดยจะยึดหินก้อนอื่นให้อยู่กับที่ พระคัมภีร์มอรมอนเป็น “ศิลา หลักแห่งศาสนาของเรา” ในทางใด พระคัมภีร์มอรมอนช่วยให้ท่าน “ใกล้ชิดพระผู้เป็นเจ้ามากขึ้น” อย่างไร

  • โจเซฟ สมิธพูดถึงพรที่เกิดขึ้นเมื่อเรา “ดื่มจากสายธารแห่งความรู้” ในพระคัมภีร์และ “ได้ประโยชน์” จากพระวจนะของพระผู้เป็นเจ้า (หน้า 68–69) คำพูดเหล่านี้บอกอะไรท่านเกี่ยวกับการศึกษาพระคัมภีร์ เราจะทําอะไรได้ บ้างเพื่อให้การศึกษาพระคัมภีร์ของเรามีความหมายมากขึ้น

  • อ่านย่อหน้าที่อยู่ท้ายสุดของหน้า 68 ท่านคิดว่าเหตุใดคนที่ศึกษาพระคัมภีร์ จึงมีความกระดือรีอร้นที่จะแบ่งปันให้ผู้อื่น เราจะทําอะไรได้บ้างเพื่อแบ่งปัน พระคัมภีร์มอรมอน ท่านเคยมีประสบการณ์อะไรบ้างเมื่อท่านแบ่งปันพระคัมภีร์มอรมอนหรือเมื่อมีคนแบ่งปันให้ท่าน

  • อ่านย่อหน้าแรกในหน้า 69 ข้อความตอนใดจากพระคัมภีร์มอรมอนที่ “ให้ กำลังใจและปลอบโยน” ท่าน พระคัมภีร์มอรมอนช่วยให้ความเข้าใจของ ท่านกระจ่างในทางใด

ข้อพระคัมภีร์กี่เกี่ยวข้อง: เอเสเคียล 37:15–17; บทนำของพระคัมภีร์มอรมอน; 1 นีไฟ 13:31–42; 2 นีไฟ 27:6–26; ค.พ. 20:6–15; โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:29–54

ลัางอิง

  1. ดู Joseph Smith, History 1832, p. 4; Letter Book 1, 1829–35, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท้เลศซิตี้ ยูทาห์

  2. History of the Church, 4:537; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนตามคำขอ ของจอห์น เวนท์เวิร์ธและจอร์จ บาร์สโทว์ นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, Mar. 1, 1842, p. 707.

  3. History of the Church, 3:28; จาก บทความที่จัดพิมพ์ใน Elders’ Journal, July 1838, pp. 42–43; โจเซฟ สมิธ เป็นบรรณาธิการวารสาร

  4. History of the Church, 4:537; ปรับ เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทัน สมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนตามคำขอ ของจอห์น เวนท้เวิร์ธและจอร์จ บาร์ สโทว์ นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ไน Times and Seasons, Mar. 1, 1842, p. 707.

  5. History of the Church, 6:74; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเจมส์ อาร์ลิงตัน เบเน็ท 13 พ.ย. 1843 นอวู อิลลินอยส์; นามสกุลของเจมส์ เบ็นเน็ต (Bennet) ใน History of the Church สะกดว่า Bennett ซึ่งไข่ถูก ต้อง

  6. History of the Church, 1:71–72; คำที่วงเล็บไว้อยู่ในต้นฉบับเดิม; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book A–l, pp. 34–35 หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร

  7. History of the Church, 1:21; ปรับ เปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book A–l, pp. 9–10 หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

  8. คำนำของพระคัมภีร์มอรมอนฉบับแรก (ค.ศ. 1830); ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อ หน้า

  9. History of the Church, 4:461; จาก คำแนะนำของโจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 28 พ.ย. 1841 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงาน โดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ์

  10. อ้างโดย David Osborn ใน “Recollections of the Prophet Joseph Smith,” Juvenile Instructor, Mar. 15, 1892, p. 173.

  11. หลักแห่งความเชื่อข้อ 8

  12. History of the Church, 4:538; ปรับ เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให์ทันสมัย;จากจดหมายที่โจเซฟ สมีธเขียน ตามคำขอของจอห์น เวนท์เวิร์ธ และ จอร์จ บาร์สโทว์ นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, Mar. 1, 1842, pp. 707–8.

  13. History of the Church, 4:187; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธและที่ปรึกษา ของท่านในฝ่ายประธานสูงสุดเขียนถึง สิทธิชน ก.ย. 1840 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, Oct. 1840, p. 179.

  14. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึง Times and Seasons ประมาณ มี.ค. 1842 นอวู อิลลินอยส์; Miscellany, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร; ตามหลักฐานไข่มีการ ส่งจดหมายฉบับนี้

  15. History of the Church, 2:11, 14; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมพัใน Evening and Morning Star, Feb. 1834, p. 136; Mar. 1834, p. 142.

  16. History of the Church, 3:385; จากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อวัน ที่ 2 ก.ค. 1839 ในมอนโทรส ไอโอวา; รายงานโดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ์และ วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ บันทึกของเอ็ลเดอร์ ริชาร์ดส์เกี่ยวกับคำปราศรัยครั้งนี้เรียบ เรียงตามบันทึกคำปราศรัยที่ผู้อื่นเขียน ไว้ เอ็ลเดอร์ริชาร์ดส์ใช้บันทึกของคน อื่นๆ ด้วยเมื่อบันทึกคำปราศรัยของ ศาสดาในวันที่ 27 มิ.ย. 1839 และคำ ปราศรัยทั้งสองครั้งนี้ลงวันที่ “ประมาณ กรกฎาคม 1839” จะมีการอ้างอิงคำ ปราศรัยนี้ตลอดหนังสือเล่มนี้

ภาพ
Joseph receiving gold plates

โจเซฟ สมิธ ได้รับแผ่นจารึกทองคำจากโมโรไนเชื่อวันที่ 22 กันยายน 1827 “ข้าพเจ้าได้แผ่นจารึก” ศาสดาเป็นพยาน “พร้อมกับฺยูรัมและธัมมัม ซึ่งข้าพเจ้าแปลแผ่นจารึกโดยใข้เครี่องมือดังกล่าว และด้วยเหตุนี้พระคัมภีร์มอรมอนจึงออกมา”

ภาพ
first edition of Book of Mormon

ข้าย ปกในพระคัมภีร์มอรมอนฉบับตืพิมพ์ครั้งแรก

ภาพ
couple reading scriptures

พระคัมภีร์ยุดสุาดท้ายไคัร์นการตีพินพ์ “เพื่อให้คำลังใจและปลนอบโยนผู้มีใจซื่อสัตย์และเดินทางต่อไปในความพอใจ”