คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 28: การรับใช้!ป็นผู้สอนศาสนา: การเรียกอันด้กดิ์สิทธิ์ งานอันน่า ชี่นชมยินดี


บทที่ 28

การรับใช้!ป็นผู้สอนศาสนา: การเรียกอันด้กดิ์สิทธิ์ งานอันน่า ชี่นชมยินดี

“จากทั้งหมดที่กล่าวมา หน้าที่ยิ่งใหญ่ที่สุดาเละสำคัญที่สุดคือสั่งสอนพระกิตติคุณ”

จากชีวิตฃองโจ!ซฟ สมิธ

ในช่วงสองสามปีสุดท้ายที่สิทธิชนอยู่ในเคิร์ทแลนด์ สมาชิกจำนวนมากและ แท้ผู้นําบางคนของศาสนาจักรได์ละทิ้งความเชื่อ ดูเหมือนศาสนาจักรกำลังเผชิญ ภาวะวิกฤต “ในสถานการณ์เช่นนี้” ศาสดาเขียนว่า “พระผู้เป็นเจ้าทรงเปีด เผยต่อข้าพเจ้าว่าต้องทําสิ่งใหม่เพื่อความรอดของศาสนาจักรนี้”1. “สิ่งใหม่” ดัง กล่าวคือการเปีดเผยให้ส่งผู้สอนศาสนาไปสั่งสอนพระกิตติคุณที่ประเทศอังกฤษ

ฮีเบอร์ ซี. คิมบัลล์ สมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสองเล่าว่า “ราววันที่หนึ่ง ของเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1837 ศาสดาโจเซฟมาหาข้าพเจ้า ขณะที่ข้าพเจ้านั่ง อยู่ใน…พระวิหาร ในเกิร์ทแลนด์ และกระซิบบอกข้าพเจ้าว่า ‘บราเดอร์ ฮีเบอร์ พระวิญญาณของพระเจ้าทรงกระซิบบอกผมว่า ‘ให้ฮีเบอร์ผู้รับใช้ของเรา ไปประเทศอังกฤษ ประกาศพระกิตติคุณ และเปีดประตูแห่งความรอดให้ ประเทศนั้น’”2. เอ็ลเดอร์กิมบัลล์หนักใจมากเมื่อนึกถึงภารกิจดังกล่าว “ผมรู้ สึกว่าตัวผมเป็นผู้รับใช้ที่อ่อนแอที่สุดคนหนึ่งของพระผู้เป็นเจ้า ผมถามโจเซฟ ว่าผมจะพูดอะไรเมื่อไปที่นั่น ท่านบอกผมให้ทูลถามพระเจ้าและพระองค์จะทรง นําทางผม และพูดผ่านผมโดยวิญญาณเดียวลันลับที่ทรง [กำกับดูแล] ท่าน”3.

ศาสดาให้การเรียกแก่ออร์สัน ไฮด์ วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ และโจเซฟ ฟีลติงใน เกิร์ทแลนด์ต้วย และให้ไอแซค รัสเซลล์ จอห์น สไนเดอร์ และจอห์น กู๊ดลัน ในโตรอนโต แคนาดา พี่ท้องชายเหล่านี้ต้องไปทำงานเผยแผ่กับเอ็ลเดอร์คิมนัลล์ที่ประเทศอังกฤษ พวกท่านรวมตัวกันในนิวยอร์กซิตี้ และลงเรือ การ์ริกค์ (Garrick) ไปสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1837 พันธกิจครั้ง แรกนอกอเมริกาเหนือครั้งนี้นำผู้เปลี่ยนใจเลื่อมใสราว 2,000 คนเข้ามาใน ศาสนาจักรระหว่างปีแรกของผู้สอนศาสนาในประเทศอังกฤษ เอ็ลเดอร์คิมบัลล์ เขียนถึง ศาสดาด้วยความปีติยินดีดังนี้ “พระสิริจงมีแด่พระผู้เป็นเจ้า โจเซฟ พระเจ้าทรงอยู่อับเราท่ามกลางประชาชาติทั้งหลาย”4.

พันธกิจครั้งที่สองของอัครสาวกในสหราชอาณาจักร โดยมีสมาชิกส่วนใหญ่ ของอัครสาวกสิบสองรวมอยู่ด้วยภายใด้การนำของบริคัม ยังก์ ได้รับการกำกับ ดูแลโดยศาสดาจากนอวู อัครสาวกสิบสองออกเดินทางในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1839 มาถึงอังกฤษในปี ค.ศ. 1840 พวกทํานเริ่มท่างานที่นั่นและราวปี ค.ศ. 1841 ได้นำผู้เปลี่ยนใจเลื่อมใสกว่า 6,000 คนเข้ามาในศาสนาจักรอันเป็นไป ตามสัญญาของพระเจ้าที่ว่าพระองค์จะทรงทํา “สิ่งใหม่” เพื่อความรอดของ ศาสนาจักรของพระองค์

จากนอวู โจเซฟ สมิธยังคงส่งผู้สอนศาสนาไปทั่วโลก เอ็ลเดอร์ออร์สัน ไฮด์ ไปถึงอังกฤษในปี ค.ศ. 1841 และจากนั้นได้รับมอบหมายให้ไปทํางานเผยแผ่ ในเยรูซาเล็ม ท่านถือจดหมายรับรองจากโจเซฟ สมิธซึ่งนืเนื้อความว่า “ผู้ถือ จดหมายฉบับนี้คือผู้ปฏิบัติศาสนกิจที่ซื่อสัตย์และมีค่าควรของพระเยซูคริสต์ เป็นตัวแทนและผู้แทนของเราในต่างประเทศเพื่อ…สนทนาอับบรรดาปุโรหิต ผู้ปกครอง และเอ็ลเดอร์ของชาวยิว”5. วันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1841 เอ็ลเดอร์ ไฮต์คุกเข่าบนภูเขามะกอกเทศของเยรูซาเล็มและสวดอ้อนวอนพระบิดาบน สวรรค์เพื่ออุทิศและอุทิศถวายแผ่นดิน “เพื่อการรวมพวกที่เหลืออยู่ของยูดาห์ ซึ่งกระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ ตามกำทํานายของเหล่าศาสดาผู้บริสุทธี้”6. จาก นั้นเอ็ลเดอร์ไฮต์เดินทางไปเยอรมนีเพื่อวางรากฐานเบื้องด้นส่าหรับการเติบโต ของศาสนาจักรที่นั่น

วันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1843 ศาสดาเรียกเอ็ลเดอร์แอดติสัน แพรทท์ เอ็ลเดอรัโนอา โรเจอร์ส เอ็ลเดอร์เป็นจาบิน เอฟ. โกรอาร์ด และเอ็ลเดอร์โนวล์ ดัน เอฟ. แฮงค์สไปทํางานเผยแผ่ในหมู่เกาะแถบแปซิฟีกตอนใด้ นี่เป็นงาน เผยแผ่ครั้งแรกของศาสนาจักรในภูมิภาคกว้างใหญ่นี้ เอ็ลเดอร์แฮงค์ส์เสียชีวิต กลางทะเล แต่เอ็สเตอร์แพรทท์เดินทางไปหมู่เกาะออสตรัสและสอนพระกิตติคุณบนเกาะตามูไอ เอ็สเตอร์โรเจอร์สอับเอ็สเตอร์โกรอาร์ดไปตาฮิติและมีคน หลายร้อยคนรับบัพติศมาอันเป็นผลจากการทํางานของท่านทั้งสอง

ภายใต้การกำกับดูแลของโจเซฟ สมิธ สิทธิชนมุ่งมั่นทำตามพระบัญชาของ พระเจ้าที่ว่า “เจ้าจงไปในมั่วโลกและยังที่ใดก็ตามที่เจ้าไปไม่ไต้ เจ้าจะส่งไป เพื่อประจักษ์พยานจะไปจากเจ้าในมั่วโลกถึงมนุษย์ทุกคน” (ค.พ. 84:62)

กําสโอนฃองโจเซฟ ลโมิธ

การรับใช้เป็ผู้สอนศาสนาเป็นงานศักดิ์สิทธิ์ศรัทธา คุณธรรม ความพากเพียรและความรักช่วยให้เราสามารถทำงานนี้ได้

“จากทั้งหมดที่กล่าวมา หน้าที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดคือสั่งสอนพระกิตติคุณ”7.

ในเดือนธันวาคม คริสต์ศักราช 1840 ใจเซฟ สมิธเขียนจดหมายถึงสมาชิก โควรัมอัครสาวกสิบสองและผู้นำฐานะปุโรหิตท่านอื่นๆ ที่กำลังรับใช้งานเผยแผ่ ในสหราชอาณาจักรดังนี้ “จงมั่นใจเถิด พี่น้องที่รักทั้งหลาย ว่าข้าพเจ้าหาไต้ เป็นผู้สังเกตการณ์ที่ไม่สนใจความเป็นไปซึ่งกำลังอุบัติขึ้นบนพื้นพิภพไม่ และ ท่ามกลางการเคลื่อนไหวซึ่งดำเนินอยู่มั่วไป ไม่มีอะไรลำกัญกว่างานอันน่าชื่นชมยินดีที่ท่านทั้งหลายมีส่วนร่วมอยู่ขณะนี้ ต้วยเหตุนี้ข้าพเจ้าจึงรู้สึกเป็นห่วง ห่านพอสมควร โดยหวังว่าคุณธรรม ศรัทธา ความพากเพียร และความใจบุญ ของท่านจะส่งผลให้ท่านสรรเสริญกัน สรรเสริญศาสนาจักรของพระคริสต์ และ สรรเสริญพระบิดาของท่านผู้ประทับในสวรรค์ ผู้ซึ่งโดยพระคุณของพระองค์ ท่านไต้รับเรียกสู่การเรียกกันศักดิ์สิทธิ์และสามารถปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบอันยิ่ง ใหญ่ซึ่งมอบให้ท่าน ข้าพเจ้ารับรองกับท่านไต้ว่า จากข้อมูลที่ข้าพเจ้าไต้รับข้าพเจ้ารู้สึกพอใจที่ท่านมิไต้บกพร่องต่อหน้าที่ แต่ความพากเพียรและความซื่อสัตย์ ของท่านเป็นเช่นที่จักทําให้ท่านไต้รับรอยแย้มพระสรวลของพระผู้เป็นเจ้าองค์ นั้นผู้ซึ่งท่านเป็นผู้รับใช้ของพระองค์ และไต้รับไมตรีจิตจากสิทธิชนมั่วโลกต้วย

“การแพร่สะพัดของพระกิตติคุณมั่วประเทศอังกฤษจักเป็นที่น่าพอใจอย่าง แน่นอนเพราะการมุ่งเผยแผ่พระกิตติคุณให้ความรู้สึกที่ไม่ธรรมดาในทรวงอก ของผู้ทนต่อความร้อนและภาระของวัน และของผู้สนับสนุนพระกิตติคุณอย่าง เหมียวแน่นและผู้แน้ต่างอย่างทรหดในระยะแรก แม้จะแวดล้อมใปต้วยสภาพการณ์ที่ไม่เป็นผลดี และความพินาศของบันส่อเต้าว่าจะเกิดขึ้น—เฉกเช่นเรือ สำเภาลำงามที่กล้าฝ่าพายุโดยไม่ได้รับอันตราย กางใบรับสายลมโชยอ่อนและฝ่า คลื่นที่ยอมศิโรราบไปอย่างสง่างาม มีสติแน่วแน่ยิ่งกว่าความแข็งแกร่งของลำเรือ ประสบการณ์และความสามารถของกัปตันเรือ คนนําร่อง และลูกเรือ…

“ความรักเป็นคุณลักษณะสำคัญประการหนึ่งของพระผู้เป็นเจ้า และผู้ปรารถนา จะเป็นบุตรของพระผู้เป็นเจ้าควรแสดงให้เห็นคุณลักษณะตังกล่าว คนที่เปียม ด้วยความรักของพระผู้เป็นเจ้าไม่พอใจเพียงแค่เป็นพรแก่ครอบครัวตนเท่านั้น แต่จะขยายขอบเขตไปทั่วโลกเพราะเขาปรารถนาจะเป็นพรแก่เผ่าพันธุ์ทั้งสิ้นของ มนุษย์ นึ่เคยเป็นความรู้สึกของท่าน และทําให้ท่านต้องตัดการเสพสุขทุกอย่าง ของครอบครัว เพื่อท่านจะเป็นพรแก่คนอื่นๆ ผู้ประสงค์จะได้ความเป็นอมตะ แต่ไม่รู้จักความจริง และสำหรับการทําเช่นนั้น ข้าพเจ้าสวดอ้อนวอนขอให้พร ประเสริฐสุดของสวรรค์เป็นของท่าน”8

เราสอนความจริงอันเรียบง่ายของพระกิตติคุณ ด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนและความอ่อนโยน และไม่โต้แย้งกับผู้อื่นเกี่ยวกับความเชื่อของพวกเขา

“โอ้ เอ็สเตอร์แห่งอิสราเอลทั้งหลาย จงฟ้งเสียงข้าพเจ้า และเมื่อท่านถูกส่ง ไปในโลกเพื่อสั่งสอน จงบอกเรื่องที่ท่านถูกส่งไปให้บอก สั่งสอน และป่าว ร้องด้วยเสียงอันตังว่า ‘เจ้าจงกลับใจ เพราะอาณาจักรสรรค์มาใกล้แล้ว จงกลับ ใจและเชื่อพระกิตติคุณ’ ประกาศหลักธรรมเบื้องด้น และไม่ด้องพูดถึงเรื่องลี้ลับ เกลือกท่านจะถูกล้มล้าง…จงสั่งสอนเรื่องที่พระเจ้าทรงบอกให้ท่านสั่งสอน นั่นคือ การกลับใจ และบัพติศมาเพื่อการปลดบาป”9

“ข้าพเจ้าพูดและอธิบายเกี่ยวกับความไร้ประโยชน์ของการสั่งสอนชาวโลก เรื่องการพิพากษาต่างๆ แต่ท่านจงสั่งสอนพระกิตติคุณอันเรียบง่าย”10

“เหล่าเอ็ลเดอร์ [ควร] ออกไป…ด้วยความอ่อนโยนที่สุด ด้วยความมีสติ และสั่งสอนเรื่องพระเยซูคริสต์และการตรึงกางเขนพระองค์ ไม่โด้แย้งกับผู้อื่น เนื่องด้วยความเชื่อของพวกเขา หรือระบอบศาสนา แต่ดำเนินตามวิถึที่แน่นอน ข้าพเจ้ามอบกําำสอนนี้ให้ถึอเป็นพระบัญญัติ และทุกคนที่ไม่ปฏิบัติตามย่อมดึง การข่มเหงลงมาบนศีรษะตนเอง ส่วนผู้ปฏิบัติตามจะเปียมด้วยพระวิญญาณ บริสุทธี้ตลอดเวลา ข้าพเจ้าประกาศว่ากําสอนนี้คือกําพยากรณ์”11

“หากมีประตูบานใดเปีดให้เอ็สเตอร์ทั้งหลายสั่งสอนหลักธรรมเบื้องด้นของ พระกิตติคุณ อย่าให้พวกเขานึ่งเงียบ อย่าตำหนินิกายต่างๆ ทั้งอย่าพูดต่อด้าน ข้อมัญญติของพวกเขา แต่จงสั่งสอนเรื่องพระคริสต์และการตรึงกางเขนพระองค์ ความรักต่อพระผู้เป็นเจ้า และความรักต่อมนุษย์…ด้วยวิธีนี้เราอาจลดอคติ ของผู้คนได้ จงมีใจอ่อนโยนและต์าด้อย และพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้าของบรรพบุรุษของเราจะสถิตอยู่กับท่านชั่วกาลนาน”12

“สังเกต กุญแจ ดอกนี้ และจงฉลาดเพื่อเห็นแก่พระคริสต์และเห็นแก่จิต วิญญาณของท่านเอง เจ้ามิได้ถูกส่งออกไปเพื่อรับการสอนแต่เพื่อสอน ให้คำ ทุกคำเปล่งออกมาด้วยความยินดี จงระมัดระวัง จงมีสติ นี่คือวันแห่งการเตือน และไม่ใช่วันแห่งการพูดมาก จงกระทําอย่างซื่อสัตย์ต่อเบื้องพระพักตร์พระผู้เป็นเจ้าและต่อเพื่อนมนุษย์…จงซื่อสัตย์ เปีดเผย และตรงไปตรงมาใน [การ ติดต่อ] ทั้งหมดของท่านกับมวลมนุษย์ [ดู ค.พ. 43:15; 63:58]”13

ก่อนที่จอร์จ เอ. สมิธจะจากไปทำงานเผยแผ่ในปี ค.ศ. 1835 ท่านพูดกุย กับศาสดาโจเซฟ สนิธผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของท่าน จอร์จ เอ. สมิธบันทึกดังนี้ “ข้าพเจ้าขอพบโจเซฟญาติผู้พื่ เขาให้พระคัมภีร์มอรมอนข้าพเจ้าหนึ่งเล่ม จับ มือทักทายข้าพเจ้า และพูดว่า ‘จงสั่งสอนสั้นๆ สวดอ้อนวอนสั้นๆ และกล่าว สั่งสอนด้วยใจที่สวดอ้อนวอนตลอดเวลา’”14

เราสอนพระกิตติคุณตามการชี้นำของพระวิญญาณ

“ทุกคนพึงสั่งสอนพระกิตติคุณด้วยอำนาจและอิทธิพลของพระวิญญาณ บริสุทธี้ และไม่มีใครสั่งสอนพระกิตติคุณได้หากไม่มีพระวิญญาณบริสุทธี้”15

“เปาโลกล่าวว่าท่านยอมเป็นคนทุกชนิดต่อคนทั้งปวงเพื่อจะช่วยเขาให้รอด ได้ข้าง [ดู 1 โครินธ์ 9:22] ฉันใดก็ฉันนั้น เหล่าเอ็ลเดอร์ในวันเวลาสุดห้าย ด้องทําเช่นเดียวกัน และโดยที่ถูกส่งออกไปสั่งสอนพระกิตติคุณและเตือนชาว โลกถึงการพิพากษาที่จะมาถึง เราจึงมั่นใจว่า เมื่อพวกเขาสอนตามการชี้นำของ พระวิญญาณ ตามการเปีดเผยของพระเยซูคริสต์ พวกเขาจะสั่งสอนความจริง โดยไม่พราบ่นและจะประสบความสำเร็จ ด้วยเหตุนี้เราจึงไม่มีบัญญัติใหม่มอบ ให้ แต่เตือนเอ็ลเดอร์และสมาชิกทั้งหลายให้ดำรงตนตามกําทุกกําำที่ออกมาจาก พระโอษฐ์ของพระผู้เป็นเจ้า [ดู บัทธิว 4:4] ทั้งนี้เพื่อพวกเขาจะไม่ขาดรัศมี ภาพที่สงวนไว้สำหรับผู้เปิ่ยมด้วยศรัทธา”16

ศาสดาพูดที่การประชุมใหญ่ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1839 ดังนี้ “ประธาน [โจเซฟ สมิธ] เริ่มแนะนำเอ็ลเดอร์ทั้งหลายเกี่ยวกับการสั่งสอนพระกิตติคุณ และ เห้นถึงความจำเป็นของการมีพระวิญญาณ เพื่อพวกเขาจะสั่งสอนด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์ที่ส่งลงมาจากสวรรค์ และจงระวังเมื่อพูดเรื่องเหล่านั้นซึ่งมิได้ หยิบยกไว้อย่างชัดเจนในพระอกําของพระผู้เป็นเจ้า กันจะนำไปสู่การคาดเดาและ การทะเลาะเบาะแว้ง”17

วันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1840ใจเซฟ สมิธเขียนจากนอวูถึงเอ็ลเดอร์ออร์สัน ไฮด์ และเอ็ลเดอร์จอห์น อี. เพจผู้กำลังเดินทางไปทำงานเผยแผ่ในแผ่น ดินศักดิ้สิทธิ์ ดังนี้ “อย่าหมดกําลังใจเนื่องด้วยความยิ่งใหญ่ของงาน ขอเพียง อ่อนห้อมถ่อมตนและเปียมด้วยศรัทธา และเมื่อนั้นท่านจะพูดได้ว่า ‘โอ ภูเขา ใหญ่ เจ้าเป็นอะไรเล่า ต่อหห้าเศรุบบาเบลเจ้าจะเป็นที่ราบ’ [ดู เศคาริยาห์ 4:7] พระองค์ผู้ทรงทําให้อิสราเอลกระจัดกระจายทรงสัญญาจะรวบรวมพวกเขา เพราะฉะนั้น ตราบใดที่ท่านเป็นเครื่องมือในงานใหญ่นี้ พระองค์จะทรงประสาทพรท่านด้วยอำนาจ ป้ญญา กําล้ง ความรู้แจ้ง และคุณสมบัติทุกอย่างที่ จำเป็น ในขณะที่ความคิดท่านจะขยายกว้างขึ้นทุกที จนท่านสามารถเข้าใจแผ่น ดินโลกและห้องฟ้า เอื้อมออกไปในนิรันดร และมุ่งหวังปวงมหกิจของพระเยโฮวาห้ในความหลากหลายและรัศมีภาพทั้งหมดของบัน”18.

เราหาโอกาสสอนพระกิตติคุณและแสดงประจักษ์พยานถึงความจริงของพระกิตติคุณ

ในฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1832 โจเซฟ สมิธกับอธิการนิวเวล เค. วิทนีย์เดินทาง จากเมืองเคิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอ ไปสหรัฐตะวันออก วันที่’13 ตุลาคม ศาสดา เขียนจากนิวยอร์กซิติ้ถึงเอ็นมา สมิธด้งนี้ “เมื่อผมนึกถึงเมืองใหญ่เช่นนีนะเวห์ เมืองนี้โดยไม่แบ่งแยกขวามือของพวกเขาจากซ้ายมือของพวกเขา แท้จริงแล้ว เมืองที่มืจิตวิญญาณมากกว่าสองแสนดวง ผมเต็มไปด้วยความเมตตาสงสาร พวกเขา และผมตั้งใจว่าจะเปล่งเสียงในเมืองนี้และปล่อยผลไว้กับพระผู้เป็นเจ้า ผู้ทรงถือทุกอย่างไว้ในพระหัตถ์พระองค์และจะไม่ทรงยอมใท้เล้นผมของเรา แม้แต่เสันเดียวร่วงลงพื้นโดยไม่สังเกตเห็น…

“ผมมืการสนทนาเป็นที่น่าพอใจกับคนบางคนและกับสุภาพบุรุษหนุ่มรูปงาม มากคนหนึ่งจากเจอร์ซีย์ ผู้มืสีหน้าเคร่งขรึมเอาการ เขามานั่งข้างๆ ผมและเริ่ม สนทนากับผมเรื่องอหิวาตกโรค และผมรู้ว่าเขาเคยป่วยเป็นโรคนี้และเกือบเสีย ชีวิต เขาบอกว่าพระเจ้าทรงไว้ชีวิตเขาเพราะทรงมืจุดประสงค์กันชาญฉลาดบาง อย่าง ผมถือโอกาสนี้สนทนากับเขาอยู่นาน เขารับการสอนของผมด้วยความ พอใจมากอย่างเห็นได้ชัดและเลื่อมใสศรัทธาผมไม่น้อย เราคุยกันจนดึกและ ตกลงกันว่าจะยุติการสนทนาไว้แค่นั้นแล้วค่อยกลับมาคุยกันต่อในวันรุ่งขึ้น แต่เพราะมีธุระบางอย่างต้องทำ เขาจึงถูกกักตัวไว้จนเรือจวนจะออกและต้อง เดินทาง เขามาพบผม กล่าวอำลา และเราจากกันอย่างไม่สู้เต็มใจนัก”19

เอลิซาเมธ แอนกรรยาของนิวเวล เค. วิททีย็พูดถึงการเดินทางไปสหรัฐ ตะวันออกของสามีเธอกับโจเซฟ สมิธในปี ค.ศ. 1832 ด้งนี้ “สามีฉันเดินทาง ไปกับโจเซฟศาสดา ผ่านเมืองทางตะวันออกหลายเมือง แสดงประจักษ์พยาน และรวบรวมเงินสร้างพระวิหารในเมืองเคิร์ทแลนด์ และซื้อที่ดินในมิสซูรึด้วย…ท่านบอกสามีของฉันว่า ‘ล้าพวกเขาปฏิเสธเรา พวกเขาจะด้องมืประจักษ์ พยานของเรา เพราะเราจะเขียนฝากไว้ที่บันไดหน้าข้านและสอดไว้ที่กรอบหน้า ต่าง’”20

คริสต์ศ้กราช 1834 โจเซฟ สมิธสั่งสอนในอาคารเรียนที่เมืองพอนทิกัค รัฐ มิชิแกน เอ็ดเวิร์ด สตีเวนสันอยู่ที่นั่นด้วยและจำประสบการณ์นี้ได์ “ในปี 1833 บริเวณสนามรอบโรงเรียนมืเอ็ลเดอร์ชาวมอรมอนสองคนแนะนำพระกิตติคุณที่ ได้รับการฟ้นฟูและในปี 1834 โจเซฟ สมิธศาสดาสั่งสอนด้วยพลังอำนาจอย่าง ที่ไม่เคยมีใครพบเห็นมาก่อนในศตวรรษที่สิบเก้านี้…ผมจำคำพูดมากมายของ ศาสดาหนุ่มได้อย่างแม่นยำเมื่อเอ่ยออกมาในความเรียบง่าย แต่ด้วยพลังจนทุก คนที่นั่นไม่อาจด้านไหว…

“ท่านยกมือขึ้นพลางกล่าวว่า ‘ข้าพเจ้าเป็นพยานว่ามีพระผู้เป็นเจ้า เพราะ ข้าพเจ้าเห็นพระองค์ตอนกลางวัน ขณะสวดอ้อนวอนในป่าอันเงียบสงัด ในฤดู ใบไม้ผลิปี ค.ศ. 1820’ ท่านเป็นพยานเพิ่มเติมว่าพระผู้เป็นเจ้า พระบิดานิรันดร์ ทรงชี้ไปที่อีกพระองค์หนึ่งซึ่งมีรูปลักษณะเหมือนพระองค์ พลางตรัสว่า ‘นี่คือ บุตรที่รักของเรา จงฟ้งท่าน’ โอ คำพูดนี้ทําให้ข้าพเจ้าสั่นไปทั้งด้ว เปียมไปด้วย ปีติที่ไม่สามารถบรรยายเป็นคำพูดได้ เหมือนดังกับเปาใลในสมัยโบราณที่เป็น พยานอย่างกล้าหาญว่าท่านได้เคยอยู่กับพระเยซูคริสต์…

“…ได้มีการจัดการประชุมขึ้น ในการประชุมทั้นมีศาสดาและพยานสามคน ของพระคัมภีร์มอรมอนร่วมอยู่ด้วย ศาสดาเป็นพยานว่าท่านได้รับพระบัญชาให้ จัดตั้งศาสนาจักรตามแบบของศาสนาจักรที่พระเยซูทรงจัดตั้ง มีอัครสาวกสิบสอง สาวกเจ็ดสิบ เอ็ลเดอร์ ของประทานและพร กับเครื่องหมายที่ตามมา ตัง บันทึกไว้ในมาระโกบทที่สิบหก… ‘ในฐานะผู้รับใข้ของพระผู้เป็นเจ้า’ โจเซฟ กล่าว ‘ข้าพเจ้าสัญญากับท่านว่า ตราบที่ท่านจะกลับใจและรับบัพติศมาเพื่อการ ปลดบาป ท่านจะได้รับพระวิญญาณบริสุทธี้’”21

ขณะถูกนำตัวจากเนืองฟาร์เวสต้ รัฐมิสซู่รีในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1838 ไปคุมขังในเนืองริชมอนด์ รัฐนิสซู่รี ศาสดาสอนพระกิตติคุณอีกครั้ง “สุภาพ สตรีและสุภาพบุรุษบางคนมาเยี่ยมเรา สตรีผู้หนึ่งเข้ามาถามคนกลุ่มใหญ่อย่างไม่อ้อมด้อมว่านักโทษคนใดเป็นพระเจ้าที่ ‘ชาวมอรมอน’ นับถือ ผู้คุมคนหนึ่งชี้ มาที่ข้าพเจ้าพร้อมกับยิ้มกว้าง และตอบว่า ‘คนนี้ไง’ สตรีคนดังกล่าวหันมา ถามข้าพเจ้าว่าข้าพเจ้าประกาศตนเป็นพระเจ้าและพระผู้ช่วยให้รอดใช่หรือไม่ข้าพเจ้าตอบว่า ข้าพเจ้าไม่ได้ประกาศ ข้าพเจ้าเป็นเพียงมนุษย์คนหนึ่ง และ เป็นผู้ปฏิบัติศาสนกิจแห่งความรอด พระเยซูคริสต์ทรงส่งข้าพเจ้ามาสั่งสอน พระกิตติคุณ

“คำตอบนี้ทําให้เธอแปลกใจมากถึงขนาดเริ่มซักถามเกี่ยวกับหลักคำสอน ของเรา ข้าพเจ้าอธิบายให้เธอกับเพื่อนๆ ฟ้งรวมทั้งทหารที่คำลังสงสัยด้วย ทุกคนฟังด้วยความสนอกสนใจจนแทบไม่หายใจขณะข้าพเจ้าอรรถาธิบายหลัก คำสอนเรื่องศรัทธาในพระเยซูคริสต์ การกลับใจ และนัพติศมาเพื่อการปลดบาป พร้อมด้วยสัญญาถึงพระวิญญาณบริสุทธิ์ดังบันทึกไว้ในกิจการของอัครทูต บทที่ สอง [ดู กิจการ 2:38–39]

“สตรีผู้ทั้นพอใจและสรรเสริญพระผู้เป็นเจ้าขณะที่เหล่าทหารฟังอยู่ เธอเดิน จากไปพลางสวดอ้อนวอนขอให้พระผู้เป็นเจ้าทรงคุ้มครองและปลดปล่อยพวกเรา”22

แดน โจนส์จำได้ว่าในตอนเย็นก่อนศาสดาเสียชีวิตเป็นมรณสักขีในคุกคาร์เทจ เกิดเหตุการณ์ต่อไปนี้ “ใจเซฟแสดงประจักษ์พยานอันทรงพลังต่อผู้คุมถึง ความเชื่อถือได้แน่นอนของพระคัมภีร์มอรมอน การพิ้นฟูพระกิตติคุณ การปฏิบัติของเหล่าเทพ และว่าอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าจะได้รับการสถาปนาอีก ครั้งบนแผ่นดินโลกเพื่อเห็นแก่ท่านผู้ถูกขังอยู่ในคุกแห่งนั้น และไม่ใช่เพราะ ท่านละเมิดกฎของพระผู้เปีนเจ้าหรือมนุษย์”23

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนหน้า 353–356 สังเกตงานสอนศาสนาที่จัดตั้งภายใด้การกำกับดูแล ของศาสดาโจเซฟ สมิธ ท่านไต้รับอิทธิพลจากงานของผู้สอนศาสนาสมัยเริ่ม แรกน้างหรือไม่ ถ้าไต้รับ ไต้รับอย่างไร

  • อ่านย่อหน้าแรกในหน้า 357 และพิจารณาว่าเหตุใดความรักจึงมีอิทธิพลต่อ เราอย่างที่ศาสดาอธิบาย เราด้องมีคุณลักษณะอะไรอีกบ้างจึงจะเป็นผู้สอน ศาสนาที่มีประสิทธิภาพ (ดูตัวอย่างในหน้า 357)

  • อ่านทวนกำพูดของศาสดาใจเซฟ สมิธเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้สอนศาสนาควรสอน และวิธีที่พวกเขาควรสอน (หน้า 357–359) เหตุใดเราจึงควรสั่งสอน “หลัก ธรรมเบื้องด้น” ของพระกิตติคุณ การโด้แย้งกับผู้อื่นเรื่องศาสนาจะเกิดผล อะไรบ้าง ท่านคิดว่า “ใบ้กำทุกกำเปล่งออกมาด้วยความยินดี” เมื่อสั่งสอน พระกิตติคุณหมายความว่าอะไร

  • อ่านทวนย่อหน้าแรกในหน้า 359 พระวิญญาณบริสุทธี้ทรงนำทางความ พยายามของเราในการแบ่งปีนพระกิตติคุณอย่างไร เหตุใดเราจึงสั่งสอนพระกิตติคุณไม่ไต้หากไม่มีพระวิญญาณบริสุทธี้

  • อ่านทวนประสบการณ์ของใจเซฟ สมิธที่ยกขึ้นมากล่าวในหน้า 360–362 เราเรียนรู้อะไรบ้างจากประสบการณ์เหล่านี้เกี่ยวกับการแบ่งปันพระกิตติคุณ

  • เราจะหาโอกาสแบ่งปันพระกิตติคุณกับผู้อื่นไดัอย่างไร เราจะเตรียมตัวรับโอกาสเช่นนั้นไดัอย่างไร เราจะให้ครอบครัวมีส่วนในงานสอนศาสนาได้อย่างไร

ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: มัทธิว 28:19–20; 2 มีไฟ 2:8; แอลมา 26:26–37; ค.พ. 4:1–7; 31:3–5

อ้างอิง

  1. History of the Church, 2:489; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book B–l, p. 761 หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนาจักร ของพระเยซูครสต์แห่งสิทธิชนยุคสุคทาย ซอลท์เลคซิตี้ ยูทาห์

  2. Heber c. Kimball, “Synopsis of the History of Heber Chase Kimball,” Deseret News, Apr. 14, 1858, p. 33; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรค ตอนให้ทันสมัย

  3. Heber c. Kimball, Deseret News, May 21, 1862, p. 370.

  4. อ้างโดย Orson F. Whitney ใน Conference Report, Oct. 1920, p. 33.

  5. จดหมายรับรองที่โจเซฟ สมิธและคน อื่นๆ ออกให้ออร์สัน ไฮด์ 6 เม.ย. 1840 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมฟ่ไน Times and Seasons, Apr. 1840, p. 86.

  6. Orson Hyde, A Voice from Jerusalem, or a Sketch of the Travels and Ministry of Elder Orson Hyde (1842), p. 29.

  7. History of the Church, 2:478; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 6 เม.ย. 1837 ในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; รายงาน โดย Messenger and Advocate, Apr. 1837, p. 487.

  8. History of the Church, 4:226–27; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนและไวยากรณ้ให้ทันสมัย; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงอัครสาวกสิบสอง 15 ธ.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์ จัดทิมฟิใน Times and Seasons, Jan. 1, 1841, p. 258; จดหมายฉบับนี้ลงจันที่ไว้ใน History of the Church เป็น 19 ต.ค. 1840 ซึ่งไม่ถูกต้อง

  9. History of the Church, 5:344; เปลี่ยนตัวสะกดให้ทันสมัย; จากคำ ปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 8 เม.ย. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ และวิลเลียม เคลย์ตัน

  10. History of the Church, 4:11; จาก คำแนะนำของใจเซฟ สมิธเมื่อ 29 ก.ย. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย เจมส์ มูลฮอลแลนด์

  11. History of the Church, 2:431; จาก คำแนะนำของใจเซฟ สมิธเมื่อ 30 มี.ค. 1836 ในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  12. จดหมายที่โจเซฟ สมิธและคนอื่นๆ เขียนถึงเฮเซคียาห้ เพศ 31 ส.ค. 1835 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; ใน “The Book of John Whitmer,” p. 80 หอจดหมายเหตุของ Community of Christ อินดิเพนเดนซ์ มิสซูรี สำเนาของ “The Book of John Whitmer” อยู่ ในหอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  13. History of the Church, 3:384; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 2 ก.ค. 1839 ในมอนโทรส ไอโอวา; รายงาน โดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้ และวิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  14. George A. Smith, “History of George Albert Smith by Himself,” p. 36, George Albert Smith, Papers, 1834–75 หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

  15. History of the Church, 2:477; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 6 เม.ย. 1837 ในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; รายงาน โดย Messenger and Advocate, Apr. 1837, p. 487.

  16. History of the Church, 5:404; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงบรรณาธิการ Times and Seasons 22 พ.ค. 1843 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมฟ้ไน Times and Seasons, May 15, 1843, p. 199; Times and Seasons ฉบับนี้จัดพิมพ์ล่าช้า

  17. History of the Church, 4:13; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 6 ต.ค. 1839 ในคอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย Times and Seasons, Dec. 1839, p. 31.

  18. History of the Church, 4:128–29; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงออร์สัน ไฮด์และจอห์น อี. เพจ 14 พ.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์ ถึงแม้เอ็ลเดอร์ไฮด์จะสิ้นสุดงานเผยแผ่ของเขาใน แผ่นดินศักดิ้สิทธิ์ แต่เอ็ลเดอร์เพจอยู่ในสหรัฐ

  19. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 13 ต.ค. 1832 นิวยอร์กซิตี้ นิวยอร์ก หอจดหมายเหตุของ Community of Christ อินดิเพนเดนซ์ มิสซูรี

  20. Elizabeth Ann Whitney, “A Leaf from an Autobiography,” Woman’s Exponent, Oct. 1, 1878, p. 71; เปลี่ยนตัวสะกดและเครื่องหมาย วรรคตอนให้ทันสมัย

  21. Edward Stevenson, “The Home of My Boyhood,” Juvenile Instructor, July 15, 1894, pp. 44345; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทัน สมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า

  22. History of the Church, 3:200–201; เรื่องราวคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 4 พ.ย. 1838 ใกล้แม่นํ้ามิสซูรี ขณะถูก นำตัวในฐานะนักโทษจากฟาร์เวสต์ไป อินดิเพนเดนซ์ มิสซู่รี; รายงานโดย พาร์ลีย์ พี. แพรทท์

  23. History of the Church, 6:600; เรื่องราวคำแนะนำของโจเซฟ สมิธเมื่อ 26 มิ.ย. 1844 ในคุกคาร์เทจ คาร์เทจ อิลลินอยส์; รายงานโดย แดน โจนส์

ภาพ
men shaking hands

ฮีเบอร์ ซี. กิมบ้เลล์และโจเซฟ ฟิลดิงในประเทศอังกฤษ กำลังไดิรับการทักทายจากคนที่เข้าร่วมศาสนาจักรเนืองจากการทำงานสอนศาสนาของพวกเขา “พระสิริจงปีแด่พระผู้เป็นเจ้า โจเซฟ”เอ็ลเดอร์ฅิมบัลล์เขียนถึงศาสดา “พระเจ้าทรงอยู่กับเราท่ามกลางประชาชาติทั้งหลาย”

ภาพ
missionaries

“จงสั่งสอนเรื่องพระคริสต์และการตรึงกางเขนพระองค์ ความรักต่อพระผู้เป็นเจ้า และความรักต่อมนุษย์…จงปีใจอ่อนโยนและตํ่าต้อย และพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้าของบรรพบุรุษของเราจะสถิตอยู่กับท่านชั่วกาลนาน”

ภาพ
sister missionaries teaching

สมาชิกแต่ละคนของศาสนาจักรปีความรับผิดชอบในการแปงป็นพระกิตติคุฌ “ทุกคนพึงสั่งสอนพระกิตติคุฌ” ศาสดาโจเซฟ สมิธประกาศ “ด้วยอำนาจและอิทธิพลของพระวิญญาฌบริสุทธิ”