คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 15: สถาปนาอุดมการณ์ของไชอัน


บทที่ 15

สถาปนาอุดมการณ์ของไชอัน

“การเสริมสร้างไซอันเป็นอุดมการณ์ที่ผู้คนของพระผู้เป็นเจ้า ในทุกยุคทุกสมัยให้ความสนใจ เป็นมัวข้อทีบรรดาศาสดา ปุโรหิตและกษัตริย์พูดถึงด้วยความเบิกบานใจเป็นพิเศษ”

จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ

ต้นเดือนมิถุนายนคริสต์ศักราช 1831 ไม่กี่สัปดาห์หลังเสร็จสิ้นการรวบรวม สิทธิชนตั้งแต่นิวยอร์กถึงโอไฮโอ พวกเขาก็มาชุมนุมกันในเคิร์ทแลนด์สำหรับ การประชุมใหญ่ของศาสนาจักร วันที่ 7 มิถุนายน วันรุ่งขึ้นหลังจากการประชุม ใหญ่สิ้นสุด โจเซฟ สมิธได้รับการเปีดเผยซึ่งทำให้สมาชิกศาสนาจักรหันมาคิด เรื่องไซอัน “การประชุมคราวต่อไป … จะมีขึ้นในมิสซูรี บนแผ่นดินซึ่งเราจะ ตั้งไว้ให์ผู้คนของเรา” (ค.พ. 52:2)

สิทธิชนสนใจอย่างจริงจังในการสถาปนาไซอัน—เมืองศักดี์สิทธิ์ สถานที่ หลบภัยอันสงบสุขเพื่อให์คนชอบธรรมหลบหนีจากความชั่วร้ายของโลกเพื่อ เตรียมสิทธิชนให้พร้อม พระเจ้าทรงแนะนำพวกเขาหลายครั้งให์ “แสวงหาเพื่อ นำออกมาและตั้งอุดมการณ์ของไซอัน” (ค.พ. 6:6; 11:6; 12:6; ดู 14:6 ด้วย) ผู้นำศาสนาจักรจะด้องออกเดินทางทันทีเพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับที่ตั้งของไซอัน โจเซฟ สมิธ ซิดนีย์ ริกตัน และคนอื่นๆ เริ่มการเดินทาง 1,448 กิโลเมตรไป ยังแจ็คกันเคาน์ตี้ มิสซูรีในวันที่ 19 มิถุนายนด้วยเรือ รถม้าคันใหญ่ และเดิน เท้าอีกหลายกิโลเมตร การเดินทางยุ่งยากและลำบากมาก แต่ศาสดารู้สึกถึง ความคุ้มครองดูแลของพระเจ้า “ถึงจะมีความไร้คุณธรรมและความรังเกียจ เดียดฉันทีไนช่วงนี้ มีวิญญาณร้ายปรากฎให้เราเห็นหลายแห่งและในคนหลาย คนเพราะความเชื่อที่เรามีต่อพระคัมภีร์มอรมอน แต่พระเจ้ายังคงเผ้าดูแล รัก และเมตตาเราอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และเราตั้งกฎว่าเมื่อใดก็ตามที่มีโอกาสเราจะ อ่านบทหนึ่งในพระคัมภีร์ไบเบิล และสวดอ้อนวอน และช่วงเวลาเหล่านี้ของ การนมัสการได้ช่วยปลอบประโลมเราอย่างมาก”1

กลางเดือนกรกฎาคม ศาสคามาถึงมิสซูรีตะวันตก เขตทุ่งหญ้ายาวเหยียด สวยงาม อุดมสมบูรณ์ และหนาแน่นไปด้วยพรรณไม้ดอก ที่นั่น ในการตอบคำ วิงวอนของท่านเพื่อให้รู้ตำแหน่งที่แน่ชัดของไซอัน พระเจ้าทรงเปีดเผยว่า “ที่ซึ่งบัดนี้เรียกกันว่าอินดิเพ็นเด็นซ์ คือที่ศูนย์กลางนั้น และตำแหน่งที่ตั้งพระ วิหารอยู่ทางตะวันตกบนแปลงซึ่งอยู่ไม่ไกลจากศาล” (ค.พ. 57:3) และควร ซื้อที่ดินแถวนั้น วันที่ 2 สิงหาคม โจเซฟ สมิธกับคนอื่นๆ ประชุมกันเพื่อเริ่ม สร้างไซอัน ศาสดาบันทึกดังนี้ “ข้าพเจ้าช่วยสาขาโคลสวิลล์ของศาสนาจักร วางซุงท่อนแรกสำหรับม้านหลังหนึ่งอันเป็นรากฐานของไซอันในคอว์ทาวน์ชิพ ห่างจากอินดิเพนเดนซ์ไปทางตะวันตกสิบเด้ากิโลเมตร ชายสิบสองคนน่าซุง ท่อนนั้นมาวางเพื่อเป็นเกียรติแก่อิสราเอลสิบสองเผ่า ในเวลาเดียวกัน เอ็ลเดอร์ ซิดนีย์ ริกดันได้สวดอ้อนวอนอุทิศถวายแผ่นดินไซอันเพื่อการรวมสิทธิชน นึ่คือ ฤดูกาลแห่งความปีติยินดีของคนที่นั่น และให้แสงรำไรของอนาคต เวลาซึ่งจะ เผยให้เห็นถึงความพึงพอใจของผู้ซึ่อสัตย์”2 วันต่อมา ศาสดาอุทิศสถานที่ก่อ สร้างพระวิหาร

สิทธิชนจากเมืองโคลสวิสล์ รัฐนิวยอร์กอยู่ในบรรดาสมาชิกศาสนาจักรกลุ่ม แรกที่ตั้งถิ่นฐานในรัฐมิสซุรี พวกเขาเดินทางลำบากตรากดรำจากรัฐนิวยอร์กมา เกิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอ แต่อยู่ในโอไฮโอเพียงช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนจะได้รับบัญชา ใม้เดินทางไปรัฐมิสซุรี พอลลี ไนท์ สมาชิกคนหนึ่งของสาขาโคลสวิสล์เดินทาง ไปดินแดนไซอันเพียงเพื่อจะตายที่นั่นในสัปดาห์ต่อมา แม้จะนีสุขภาพไม่ดีมา นาน แต่เธอตั้งใจแด้วว่าจะไปถึงที่นั่นใม้ได้ บุตรชายของเธอเขียนว่า “คุณแม่ นอนหลับอย่างสงบในความตายขณะปลื้มปีติในพันธสัญญาใหม่และเปีนนิจของ พระกิตติคุณและสรรเสริญพระผู้เป็นเจ้าที่ท่านมีชีวิตอยู่จนได้เห็นแผ่นดินไซอัน … บราเดอรโจเซฟ สมิธมาร่วมพิธีศพของมารดาข้าพเจ้า ท่านพูดจาฉลาดหลัก แหลมและปลอบใจเรา”3 ถึงแม้ศาสดาจะกลับไปเคิร์ทแลนด์หลังจากนั้นไม่นานและยังคงนำศาสนาจักรจากที่นั่นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1838 แต่สิทธิชนจำนวน มากยังคงย้ายไปมิสซุรี

สิทธิชนท่างานอย่างขยันขันแข็งเพื่อเสริมสร้างไซอัน แต่ประมาณปลายปี ค.ศ. 1833 พวกเขาก็ถูกไล่ออกจากบ้านในแจ็คสันเคาน์ตี้เนื่องด้วยการข่มเหงที่ รุนแรง ด้องทิ้งความฝันของการสถาปนาไซอันและการสร้างพระวิหารไว้ที่นั่น พระเจ้าทรงเปีดเผยผ่านศาสดาโจเซฟ สมิธว่าเงื่อนไขสำหรับการไถ่ไซอันใน แผ่นดินนั้นยังไม่บรรลุและการสถาปนาไซอันด้อง “คอยชั่วระยะสั้น” (ค.พ. 105:9)

คำลโอนฃองโจเซฟ สมิธ

พระเจ้าทรงกำหนดให้แจ็คสันเคาน์ตี้ รัฐมิสชูรีเป็นดินแดนไชอัน—สถานที่ชี่งสิทธิชนในสมัยของโจเชฟ สมิธจะมารวมกัน และในที่สุดจะสร้างเมืองไชอันศักดิ้สิทธิ้ที่นั่น

“ข้าพเจ้าได้รับพระบัญชาโดยภาพปรากฎจากสวรรค์ในเดือนมิถุนายน [ค.ศ. 1831] ให้เดินทางไปยังเขตแดนตะวันตกของรัฐมิสซูรี และกำหนดสถานที่แห่ง หนึ่งที่นั่นให้เป็นศูนย์กลางสำหรับการเริ่มด้นรวมผู้ห้อมรับความสมบูรณ์ของ พระกิตติคุณอันเป็นนิจเข้าด้วยกัน ข้าพเจ้าออกเดินทางตามพระบัญชาพร้อม กับพี่น้องชายบางคน และหลังจากการเดินทางที่ยาวไกลและน่าเบื่อ ประสบ ความขาดแคลนและความยากลำบากมากมาย พวกเราก็มาถึงแจ็คสันเคาห้ตี้ รัฐ มิสซูรี หลังจากสำรวจภูมิประเทศแถบนั้นและพากเพียรแสวงหาตามพระหัตถ์ ของพระผู้เป็นเจ้า พระองค์ทรงปรากฎองค์ให้ประจักษ์ต่อพวกเรา และทรง กำหนดสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งพระองค์วางแผนไว้ว่าจะให้เริ่มงานแห่งการรวม และ การสร้าง ‘เมืองลักดี้สิทธี้’ ซึ่งควรเรียกว่าไซอัน—ไซอัน เพราะนึ่คือสถานที่ แห่งความชอบธรรม และทุกคนที่สร้างเมืองนั้นจะด้องนมัสการพระผู้เป็นเจ้าที่ แห้จริงและดำรงอยู่ และทุกคนเชื่อในหลักกำสอนเดียว แห้หลักกำสอนของ พระเจ้าและพระผู้ช่วยให้รอดของเราพระเยซูคริสต์ ‘พวกยามของเจ้าเปล่งเสียง เขาร้องเพลงกันด้วยความชื่นบาน เพราะเขาได้เห็นกับตาที่พระเจ้าทรงกลับยัง ศิโยน’ [อิสยาห้ 52:8]”4

ต้นทศวรรษ 1830 สิทธิชนพยายามวางรากฐานของไซอันในแจ็คสันเคาน์ตี้ รัฐมิสซูรีตามที่พระเจ้าทรงบัญชา แต่ไม่สามารถทำเช่นนั้นไต้เพราะพวกเขาไม่ พร้อมทางวิญญาณ ศาสดาโจเซฟ สมิธพูดถึงเวลาที่ไซอันน่าจะไต้รับการสถาปนา ดังนี้ “ข้าพเจ้าไข่สามารถทราบข่าวจากการสื่อสารใดๆ ของพระวิญญาณที่บอก ข้าพเจ้าว่าไซอันสูญเสียสิทธี้ที่จะได้มงกุฎชั้นสูงแล้ว ถึงแม้พระเจ้าจะทรงทำให้ ไซอันทุกข์ทรมานก็ตาม เว้นแต่ว่าจะมืคนบางคนดำเนินอยู่ในการไม่เชื่อฟ้งและ ละทิ้งพันธสัญญาใหม่ งานของพวกเขาจะแสดงให้เห็นตัวตนของพวกเขาใน เวลาอันเหมาะสม ข้าพเจ้าคิดมาตลอดว่าไซลันจะด้องประสบความทุกข์ทรมาน บางอย่าง ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าได้เรียนรู้จากพระบัญชาที่ได้รับ แต่ข้าพเจ้าขอเดือน ท่านให้นึกถึงประโยคเล็กๆ ประโยคหนึ่งซึ่งกล่าวว่า หลังจากความยากลำบาก มาก พรก็มาถึง [ดู ค.พ. 58:4] จากข้อนี้ และข้ออื่นๆ และอีกข้อหนึ่งที่ได้ รับในระยะนี้ ข้าพเจ้าทราบว่าไซอันจะได้รับการไถ่ในเวลาอันเหมาะสมของพระเจ้า แต่วันแห่งการทำให้บริสุทธี้ ความยากลำบาก และความทุกข์ทรมานจะมีสัก กี่วัน พระเจ้าทรงปีดบังไมไห้ข้าพเจ้ารู้ และเมื่อข้าพเจ้าทูลถามเกี่ยวอับเรื่องนี้ สุรเสียงของพระเจ้าคือ จงนิ่งเสีย และรู้เถิดว่าเราคือพระผู้เปีนเจ้า! ทุกคนที่ ทนทุกข์เพราะนามของเราจะปกครองก้บเรา และคนที่พสีชีวิตด้วยเห็นแก่เราจะ พบบันอีก … แม้เราจะทุกข์ทรมานและทนทุกข์มากเพียงใดก็ขอพระผู้เปีนเจ้า อย่าได้ทรงยอมให้มีสิ่งใดพรากเราจากความรักของพระคริสต์เลย [ด โรม 8:35–39]”5

เราเสริมสร้างอุดมการณ์แฟงไชอันด้วยการเปีนผู้คนที่มีใจบริสุทธิ์และพากเพียรทำงานด้วยใจเดียวและความคิดเดียว

“การเสริมสร้างไซอันเป็นอุดมการณ์ที่ผู้คนของพระผู้เป็นเจ้าในทุกยุคทุก สมัยให้ความสนใจ เป็นหัวข้อที่บรรดาศาสดา ปุโรหิต และกษัตริย์พูดถึงด้วย ความเบิกบานใจเป็นพิเศษ พวกท่านตั้งตาคอยวันที่เราจะมีชีวิตอยู่ด้วยความ คาดหวังอันเปียมปีติ พวกท่านร้องเพลง เขียน และพยากรณ์ถึงยุคสมัยของเรา โดยได้รับแรงบันดาลใจจากความคาดหวังอันเปียมปีติและลํ้าเลิศแต่พวกท่านก็ ตายจากไปก่อนจะได้เห็น เราคือผู้คนที่ทรงโปรดปรานผู้ที่พระผู้เปีนเจ้าทรงเลือก ให้นำรัศมีภาพยุคสุดห้ายออกมา เพื่อให้เราได้เห็น ได้มีส่วนร่วม และช่วยให้ รัศมีภาพยุคสุดห้ายแผ่ไปข้างหห้า”6

“ไม่ว่าสิทธิชนจะมารวมอันที่ใด ที่นั่นคือไซอัน ซึ่งคนชอบธรรมทุกคนจะ เสริมสร้างให้เป็นสถานที่แท่งความปลอดภัยลำหรับลูกหลานของเขา”7

“จะมีสเตค [ของไซอัน] ที่นิ่และที่นั่นลำหรับการรวมสิทธิชน … ที่นั่นลูก หลานของท่านจะได้รับพร และท่านจะได้รับพรท่ามกลางมิตรสหายไม่ว่าท่านจะ อยู่ที่ใดก็ตาม อวนแท่งพระกิตติคุณรวบรวมปลาทุกชนิด

“… เราควรให้การเสริมสร้างไซอันเปีนจุดบุ่งหมายที่สำคัญที่สุดของเรา … เวลา จะมาถึงในไม่ข้าเมื่อจะไม่มีมนุษย์คนใดมีสันติสุขได้เลยนอกจากในไซอัน และสเตคของบันเท่านั้น”8

“เกี่ยวก้บการเสริมสร้างไซอันนั้นจะด้องเป็นไปตามคำแนะนำของพระเยโฮ วาห์ ตามการเปีดเผยของสวรรค์”9

“ฤ้าไซอันจะไม่ทำตนให้บริสุทธี้ในสายพระเนตรของพระองค์ ทั้งนี้เพื่อจะได้ รับความเห็นชอบในทุกสิ่ง พระองค์จะทรงหาคนอีกกลุ่มหนึ่ง เพราะงานของ พระองค์จะดำเนินต่อไปจนกว่าอิสราเอลจะถูกรวม และพวกเขาผู้จะไม่ฟ้งสุรเสียงของพระองค์จะต้องรู้สึกถึงพระพิโรธของพระองค์ ข้าพเจ้าบอกท่านว่า จง พยายามทำตนให้บริสุทธี้ และผู้อาศัยทั้งหมดของไซอันต้วย เกลือกจะก่อกวน พระเจ้าให้กริ้วอย่างรุนแรง กลับใจ กลับใจก้อสุรเสียงของพระผู้เป็นเจ้าที่มาถึง ไซอัน และอาจจะฟ้งดูแปลก แต่ความจริงคือมนุษยชาติจะดึงดันหาข้อแห้ตัว ให้ตนจนความชั่วร้ายทั้งหมดของพวกเขาถูกเปีดโปง และอุปนิสัยของเขาชั่ว ร้ายเกินกว่าจะไต้รับการไถ่ และสิ่งซึ่งเก็บงำอยู่ในใจเขาจะถูกเปีดโปงให้มนุษยชาติเห็น ข้าพเจ้ากล่าวลับท่าน (และสิ่งที่ข้าพเจ้าพูดลับท่าน ข้าพเจ้าพูดลับทุก คน) จงฟ้งสุรเสียงเตือนของพระผู้เป็นเจ้า เกลือกไซอันจะตก และพระเจ้าทรง สาบานในพระพิโรธของพระองค์ว่าผู้อาศัยของไซอันจะไม่ไต้เข้าในที่พำนักของ พระองค์”10

“ตราบใดที่ยอมให้การกระทำอันมิชอบเกิดขึ้นในศาสนาจักร ศาสนาจักรจะ ศักดิ์สิทธึ๋ไม่ไต้ และไซอันจะไม่ไต้รับการไถ่”11

“ขอให้ทุกคนท่างานเพื่อเตรียมตัวรับสวนองุ่น โดยสละเวลาเล็กๆ น้อยๆ เพื่อปลอบโยนผู้ทุกข์โศก เยียวยาคนที่หัวใจแหลกสลาย กล่อมเกลาคนตลบตะแลง นำผู้หลงทางกลับมา และเชื้อเชิญคนที่ถูกตัดออกให้กลับเข้ามาใน อาณาจักรอีกครั้ง โดยกระตุ้นพวกเขาให้พยายามทำขณะยังมีเวลาเหลืออยู่และทำความชอบธรรม และเตรียมด้วยใจเดียวและความคิดเดียว เพื่อช่วยไถ่ไซอัน แผ่นดินประเสริฐแห่งคำสัญญาที่คนเต็มใจและคนเชื่อฟ้งจะได้รับพร…

“[เรา] สวดอ้อนวอนพระบิดาบนสวรรค์ของเราขอให้ห่านสวดอ้อนวอน มากๆ อ่อนน้อมถ่อมตนมากๆ และมีความใจบุญมากๆ โดยทำงานอย่าง พากเพียร ทั้งทางวิญญาณและทางโลกสำหรับการไถ่ไซอัน เพื่อผู้มีใจบริสุทธี้ จะกลับมาเสริมสร้างที่รกร้างของไซอันพร้อมด้วยเพลงแห่งความปีติยินดีอัน เป็นนิจ และพบพระเจ้าเมื่อพระองค์เสด็จมาในพระสิริของพระองค์ [ด ค.พ. 101:18]”12

ไชอัน เยรูซาเล็มใหม่ จะถูกสร้างบนทวีปอเมริกา

หลักแห่งความเชื่อข้อ 10 “เราเชื่อในการรวมกันจริงๆ ของเชื้อสายอิสราเอล และในการกลับคืนมาของคนสิบเผ่า และว่าไซอัน (เจรูซาเล็มใหม่) จะถูก สร้างบนทวีปอเมริกา”13

“เมืองไซอันที่ดาวิดพูดไอ้ในสดุดีบทที่หนึ่งร้อยสองจะถูกสร้างบนแผ่นดิน อเมริกา ‘ผู้ที่รับการไถ่แล้วของพระเจ้าจะกลับและจะมายังคิโยนด้วยร้องเพลงมี ความชื่นบานเปีนนิจบนศีรษะของเขาทั้งหลาย” [อิสยาห์ 35:10] และจากนั้น พวกเขาจะได้รับการปลดปล่อยจากภัยพิบัติอันท่วมทํนที่จะผ่านแผ่นดิน แต่ขู ดาห์จะได้รับการปลดปล่อยที่เยรูซาเล็ม [ดุ โยเอล 2:32; อิสยาห์ 26:20–21; เยเรมีย์ 31:12; สดุดี 1:5; เอเสเคียล 34:11–13] นึ่เปีนประจักษ์พยานว่าพระ ผู้เลี้ยงที่ดีจะทรงปล่อยแกะของพระองค์ออกมา และนำพวกเขาออกจากประชาชาติทั้งหลายที่พวกเขากระจัดกระจายไปในวันอันมืดมนและหมองมัวมาลู่ ไซอัน และมาลู่เยรูซาเล็ม”14

“ข้าพเจ้าจะเริ่มโดยอ้างจากคำพยากรณ์ของเอโนคเมื่อพูดถึงวันเวลาสุดทำย ‘เราจะส่งความชอบธรรมลงมาจากสวรรค์ และเราจะส่งความจริงออกมาจาก แผ่นดินโลกเพื่อเปีนประจักษ์พยานถึงพระองค์เดียวที่ถึอกำเนิดของเรา การพี้น คืนพระชนม์ของพระองค์จากความตาย แทํจริงแล้ว และการพีนคืนชีวิตของ มนุษย์ทั้งปวงด้วย และเราจะทำให้ความชอบธรรมและความจริงกวาดแผ่นดิน โลกดังด้วยนํ้าท่วม เพื่อรวมผู้ที่ถูกเลือกของเราออกจากสี่เสี้ยวของแผ่นดินโลก มายังที่แห่งหนึ่งซึ่งเราจะเตรียมไว้ เมืองศักดี้สิทธี้ เพื่อผู้คนของเราจะคาดเอว ของเขาไว้ และเผ้าคอยเวลาแห่งการมาของเรา เพราะจะมีแทบะนะเคิลของเรา และมันจะถูกเรียกว่าไซอัน เจรูซาเล็มใหม่’ [โมเสส 7:62]

“ข้อความอ้างอิงข้อนี้ทำให้ข้าพเจ้าเข้าใจว่า … ความชอบธรรมและความ จริงต้องกวาดแผ่นดินโลกดังด้วยนํ้าท่วม และมัดนี้ ข้าพเจ้าถามว่า ความชอบธรรมและความจริงจะกวาดแผ่นดินโลกดังด้วยนํ้าท่วมได้อย่างไร ข้าพเจ้าจะตอบ มนุษย์และเหล่าเทพด้องร่วมมือกันทำให้งานยิ่งใหญ่นี้บรรลุผลสำเร็จ และไซอัน แห้เยรูซาเล็มใหม่ จะด้องพร้อมรับผู้ถูกเลือกที่ถูกรวมออกมาจากสี่เสี้ยวของ แผ่นดินโลก และเมืองศักคิ์สิทธิ์ด้องได้รับการสถาปนาเพื่อแทเบอร์นาเคิลของ พระเจ้าจะอยู่กับพวกเขา …

“… ‘ดูเถิด เราจะสถาปนาคนพวกนี้ในแผ่นดินนี้เพื่อให้พันธสัญญาซึ่งเราทำ ไว้กับเจคอบบรรพบุรุษของเจ้าสำเร็จ และมันจะเป็นเจรูซาเล็มใหม่’ [3 นีไฟ 20:22] มัดนี้เราเรียนรู้จากพระคัมภีร์มอรมอนว่าเยรูซาเล็มใหม่จะตั้งอยู่บนทวีป หนึ่งและแผ่นดินหนึ่ง และจะถูกรับขึ้นไปตามภาพปรากฎที่ยอห้นเห็นบนเกาะ ป้ทมอส

“หลายคนมีแนวโน้มจะพูดว่า เยรูซาเล็มใหม่ที่พูดถึงนี้คือเยรูซาเล็มที่ชาว ยิวสร้างบนทวีปตะวันออก แต่ท่านจะเห็นจากวิวรณ์ 21:2, ว่ามืเยรูซาเล็มใหม่ จากพระผู้เป็นเจ้าลงมาจากสวรรค์ เหมือนเจ้าสาวแต่งตัวรอรับสามีของเธอ หลังจากนี้ พระวิญญาณจะทรงนำผู้เปีดเผยขึ้นไปบนภูเขาสูงใหญ่ลูกหนึ่ง และ เห็นเมืองใหญ่และศักดี้สิทธิ์ลอยออกมาจากสวรรค์จากพระผู้เป็นเจ้า ในที่นี้พูด ถึงเมืองสองเมือง เนื่องด้วยไม่สามารถเขียนทุกสิ่งเกี่ยวกับมัวข้อนี้ไว้ในจดหมาย ได้ ข้าพเจ้าจึงจะพูดสั้นๆ ว่า เยรูซาเล็มใหม่ได้รับการสถาปนาบนทวีปนี้ และ เยรูซาเล็มจะถูกสร้างขึ้นใหม่บนทวีปตะวันออกด้วย [ด อีเธอร์ 13:1–12] ‘ดู เถิด อีเธอร์เห็นวันเวลาของพระคริสต์ และท่านพูดเกี่ยวกับเจรูซาเล็มใหม่บน แผ่นดินนี้ และท่านพูดเกี่ยวกับเชื้อสายอิสราเอลและเจรูซาเล็มด้วย ซึ่งจากที่ นั้นลืไฮจะออกมา หลังจากที่มันถูกทำลายแอ้ว มันจะถูกสร้างอีกให้เป็นเมือง ศักดี้สิทธิ์แด่พระเจ้า ดังนั้นจะเป็นเจรูซาเล็มใหม่ไม่ได้ เพราะมันเปีนมาแอ้วใน สมัยก่อน’ [อีเธอร์ 13:4–5]”15

“ศาสดาหลายท่านพูดเกี่ยวกับไซอันในวันเวลาสุดท้ายว่า ศักดี้ศรีแห่งเลบานอนจะมายังเจ้า ท้นสนสามใบ ท้นสนเขา และต้นช้องรำพันด้วยกัน เพื่อกระทำให้ที่แห่งสถานศักดี้สิทธี้ของพระองค์งดงาม และพระองค์จะทรงกระทำให้ที่ แห่งเท้าของพระองค์รุ่งโรจน์ [ด อิสยาห์ 60:13] ที่ใดมีทองสับฤทธี้ พระองค์ จะทรงนำทองคำมาให้ และที่ใดมีเหล็ก พระองค์จะทรงนำเงินมาให้ ที่ใดมีไท้ พระองค์จะทรงนำทองสับฤทธี้มาให้ และที่ใดมีหิน พระองค์จะทรงนำเหล็กมา ให้ [ด อิสยาห์ 60:17] และที่ใดมีการเลี้ยงท้วยของอัวนพี คนเที่ยงธรรมจะไท้ กิน [ด อิสยาห์ 25:6] แท้จริงแท้ว เมื่อนำความสง่างามของพระเจ้ามาให้เรา พิจารณาเพื่อประโยชน์ของผู้คนของพระองค์ การคิดคำนวณของมนุษย์และ ศักดศรีที่ว่างเปล่าของโลกจะอันตรธานหายไป และเราจะร้องว่า “พระเจ้าทรง ทอแสงออกมาจากศิโยนนครแห่งความงามหมดจต่ [สดุดี 50:2]”16

ข้อเสนอแนะสำหรับศึกษาและสอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ลูความช่วย เหลือเพิ่มเติมไท้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • ในบทนี้ ให้สังเกตวิธีที่ศาสดาโจเซฟ สมิธใช้คำว่า ไซอัน เพื่อหมายถึง สถานที่จำเพาะเจาะจงและผู้คนของพระเจ้า การใช้คำนี้ช่วยให้ท่านเช้าใจ ความหมายของการเสริมสร้างไซกันอย่างไร (ขณะคิดใคร่ครวญหรือสนทนา คำถามนี้ ท่านอาจจะอ่านคำสอนและพันธสัญญา 97:21)

  • ในย่อหน์าที่เริ่มจากท้ายสุดของหน์า 198 โจเซฟ สมิธพูดถึงความปรารถนา ของท่านที่จะรู้ว่าเมืองไซกันในแจ็คสันเคาน์ตี้ รัฐมิสซูรีจะไท้รับการสถาปนา เมื่อใด เราเรียนรู้อะไรท้างจากการที่พระเจ้าทรงตอบคำสวดท้อนวอนของ โจเซฟ สมิธ

  • อ่านย่อหน้าที่สองในหน์า 199 แล้วระบุสถานที่บางแห่งที่สิทธิชนจะรวมกัน เราจะเสริมสร้างไซกันในสถานที่เหล่านี้ไคัอย่างไร

  • อ่านทวนย่อหน้าที่สามและสี่ในหน้า 199 แล้วพิจารณาว่าสเตคในศาสนาจักร ให้ความปลอดภัยและสันติสุขอย่างไร ท่านไท้รับพรในท้านใดน้างเมื่อท่าน มารวมกับสมาชิกคนอื่นๆ ในสเตคของท่าน

  • คำแนะนำของศาสดาเกี่ยวกับการสร้างไซกันประยุกต์ใช้กับท้านของเราในท้าน ใดท้าง

  • ศาสดาโจเซฟสอนว่าส่วนหนึ่งของการพยายามเสริมสร้างไซอันคือเราต้อง ทำตัวเราให้บริสุทธี้ มีวิธีใดห้างที่เราจะสามารถทำตามคำแนะนำนี้ไต้ (ดูตัวอย่างหห้า 199–201) ท่านคิดว่าเหตุใดแต่ละคนจึงต้องบริสุทธี้ก่อนไซอันจะไต้รับการไถ่

  • อ่านทวนคำพยากรฆัของโจเซฟ สมิธเกี่ยวกับเมืองศักดิ๙สิทธิ๙สองเมือง (หห้า 201–203) เรามืบทบาทอะไรในการทำให้คำพยากรณ์เหล่านี้บังเกิดสับฤทธิผล

ข้อพระคัมภีร์ที่กี่ยวข้อง: วิวรณ์ 21:1–27; ค.พ. 45:65–71; 97:18–25; 103:1–7; โมเสส 7:16–21, 62–69

อ้างอิง

  1. History of the Church, 1:188–89; from “History of the Church” (ต้นฉบับ), book A–1, pp. 126–27 หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนา จักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุค สุดท้าย ซอลท้เลคซิตี้ ยูทาห์

  2. History of the Church, 1:196; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book A–1, p. 137, หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  3. Newel Knight, Autobiography and Journal, ca. 1846, pp. 32, 34, หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  4. History of the Church, 2:254; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเหล่า เอ็ลเดอร์ของศาสนาจักร ก.ย. 1835 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ จัดพิมฟ่ไน Messenger and Advocate, Sept. 1835, pp. 179–80.

  5. History of the Church, 1:453–54; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็ดเวิร์ด พาร์ทริดจ์และคนอื่นๆ 10 ธ.ค. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  6. History of the Church, 4:609–10; จาก “The Temple” บทความที่จัด พิมฟ่ไน Times and Seasons, May 2, 1842, p. 776; โจเซฟ สมิธเป็นบรรณาธิการวารสาร

  7. อ้างโดย มาร์ธา เจน โนว์ลตัน โคเรย์ ระหว่างรายงานคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธในนอวู อิลลินอยส์; Martha Jane Knowlton Coray, Notebook, Church Archives; คำปราศรัยนี้ลงวันที่ 19 ก.ค. 1840 ใน Sister Coray’s notebook, แต่อาจจะปราศรัยในวันหลังจากนี้น

  8. History of the Church, 3:390–91; คำในวงเล็บอยู่ในต้นฉบับ; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำปราศรัยของ โจเซฟ สมิธประมาณ ก.ค. 1839 ใน คอมเมิร์ซ อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด วิชาร์ดส์

  9. History of the Church, 5:65; จาก “The Government of God,” บทความที่จัดทิมพใน Times and Seasons, July 15, 1842, p. 858; โจเซฟ สมิธเป็นบรรณาธิการวารสาร

  10. History of the Church, 1:316; เปลี่ยนตัวสะกดให้ทันสมัย; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงวิลเลียมตับเบิลยู. เฟลพ์ส 11 ม.ค. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; จดหมายฉบับนี้ลงวันที่ 14 ม.ค. 1833 ใน History of the Church. ซึ่งไม่ถูกต้อง

  11. History of the Church, 2:146; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงไลมัน ไวท์และคนอื่นๆ 16 ส.ค. 1834 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  12. History of the Church, 2:229–30, เชิงอรรถ; ปรับเปลี่ยนเครื่องหมายวรรค ตอนให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่ง ย่อหน้า; จาก “To the Saints Scattered Abroad,” Messenger and Advocate, June 1835, p. 138.

  13. หลักแห่งความเชื่อข้อ 1:10

  14. History of the Church, 1:315; จาก จดหมายที่โจเซฟ สบิธเขียนถึง เอ็น. ซี. แซกซ์ตัน 4 ม.ค. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; ชื่อของนายแซกซ์ตันใน History of the Church เขียนว่า “เอ็น. อี. ซีตัน” ซึ่งไม่ถูกต้อง

  15. History of the Church, 2:260–62; ปรับเปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทัน สมัย; คำในวงเล็บชุดแรกอยู่ในต้นฉบับ; จากจดหมายที่โจเซฟ สบิธเขียนถึง เหล่าเอ็ลเดอร์ฃองศาสนาจักร พ.ย. 1835 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ จัดพิมพใน Messenger and Advocate, Nov. 1835, pp. 209–10.

  16. History of the Church, 1:198; ปรับ เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book A–1, p. 139, หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

ภาพ
map of Zion

ในปี ค.ศ. 1833 โจเชฟ สมืธ และเฟรเคอริถ จี. วลเลีบมส์เตรียมแผนที่นื้สิาหร้บเมืองไชอ้นที่จะสร้างในแจ็คสันเคาน์ตี้ มืสุชู่รี พื้นที่สาธารณะประโยชน์ตรงกลางลีอมรอบค้วมืองขึ่งมีเนื้อที่ 10 เอเดอร้อันประกอบค้วยพื้นที่พักอาศัยแปลงละครึ่งเอเคอร์ เมืองนื้ไม่ไค้สร้างขึ้น แต่แนวคิคเนื้องต้นหลายอย่างของแบบแปลนนื้ไคนำไปใชในการตั้งรกรากของสิทธิชนยุคสุคท้ายในเวลาต่อมา

ภาพ
ward members

“ไปว่าสิทธิชนจะมารวมกันที่ใด ที่นั่นคือไชอัน ชึ่งคนชอบธรรมทุกคนจะเสริมสร้าง ให้เป็นสถานที่แห่งความปลอดภัยสำหรับลูกหลานของเขา”