คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 34: พลังแห่งการใหัอภัย


บทที่ 34

พลังแห่งการให้อภัย

“มาเถิด น้องรัก สงครามผ่านพ้นไปแล้วเดิมทีเป็นเพื่อนกัน สุดท้ายก็เป็นเพื่อนกันอีก”

จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ

ในฤดูร้อน ค.ศ. 1839 ศาสดาตั้งชื่อสถานที่ซึ่งสิทธิชนจะมารวมกันทางฝั่ง อิลลินอยส์ของแม่นํ้ามิสซิสซิปปีว่า นอวู ชื่อนี้มาจากรากศัพท์ภาษาฮีบรู หมาย ถึง “ที่ตั้งหรือสถานที่ที่สวยงาม แฝงไว้ด้วยแนวคิดเรื่องการพักผ่อน”1 ภายใด้ การกำกับดูแลของศาสดา สิทธิชนเริ่มเปลี่ยนหมู่บ้านคอมเมิร์ซให้เป็นเมืองที่ น่าอยู่ พวกเขาสร้างบ้านไบ้ซุงแทนกระท่อมและกระโจมก่อน จากนั้นบ้านไบ้ และบ้านอิฐจำนวนมากก็เริ่มปรากฎ พวกเขาปลูกไบ้ผล ไบ้ที่ใบ้ร่มเงา ไม้เอา และไบ้พุ่มเพื่อให้แผ่นดินกว้างใหญ่ของพวกเขาสวยงาม สิทธิชนหวังว่าจะพบ สถานที่ลี้กัยอันสงบสุขในนอวูเมืองงามแห่งนี้ซึ่งพวกเขาจะรอดพันจากการ ข่มเหงเช่นที่เคยประสบในมิสซุรื

ในช่วงระยะเวลาปลูกสร้างนี้ โจเซฟ สมิธมืประสบการณ์หนึ่งซึ่งแสดงให้เห็น ถึงจิตใจอันเปียมด้วยเมตตาและความเต็มใจของท่านที่จะใบ้อภัยผู้อื่นโดยยอม ใบ้พวกเขากลับใจจากความผิดพลาดในอดีต ดาเนียล ไทเบอร์เล่าประสบการณ์ ดังนี้

“ชายคนหนึ่งผู้มืชื่อเสียงดีในศาสนาจักรขณะอยู่ที่เมืองฟาร์เวสต์ [รัฐมิสซุรี] ด้องล้มหมอนนอนเสื่อเพราะเป็นไข้จับสั่น ช่วงที่จิตใจและร่างกายของเขาอ่อน แอ กลุ่มคนที่ไม่พอใจพากันล้างสมองและยุยงเขาให้จากสิทธิชนไปกับพวกตน เขาให้ประจักษ์พยานบางอย่างต่อด้านศาสดา ช่วงที่สิทธิชนตั้งถิ่นฐานในเมือง คอมเมิร์ซ เขาได้ย้ายจากรัฐมิสซุรืไปเมืองควินซี รัฐอิลลินอยส์หลังจากหายป่วย แล้ว ที่นั่นเขาไปทำงานดัดฝีนเพื่อเขากับครอบครัวจะมืเงินไปนอวู และ [ให้] ของขวัญคนของพระผู้เปีนเจ้าผู้ที่เขาทำใบ้โกรธเผื่อจะได้รับการยกโทษและได้ รับอนุญาตใบ้กลับเข้าฝูง… เขารู้สึกว่าที่อื่นไม่มืความรอดสำหรับเขาและล้าเขา ถูกปฏิเสธ เขาคงหมดสิ้นทุกสิ่งทุกอย่าง เขาเริ่มเศร้าใจและมีสีหน้าหม่นหมอง

“ขณะที่ [ชายคนนั้น] อยู่ระหว่างทางพระเจ้าทรงบอกบราเดอร์โจเซฟว่าเขา กำลังมา ศาสดามองไปทางหน้าต่างและเห็นเขาเดินมาตามถนน ทันทีที่เขาเปีด ประตู ศาสดาลุกจากเก้าอี้ทันที วิ่งไปหาเขาที่สนาม พลางร้องทักว่า ‘โก้ บราเดอร์ —, ผมดีใจมากที่ได้พบคุณ’ ท่านกอดคอเขาและทั้งคู่ร้องไห้เหมือน เด็กๆ

“ขอกล่าวแต่เพียงว่าชายที่ตกไปแล้วได้ทำการชดเชยที่เหมาะสมและเข้าลู่ ศาสนาจักรอีกครั้งผ่านประตูนั้น ได้รับฐานะปุโรหิตอีกครั้ง ไปทำงานเผยแผ่ สำคัญๆ หลายครั้ง รวมลับสิทธิชนในไซอัน และสิ้นชีวิตเมื่อยังมืศรัทธาเต็ม เปียม”2

จอร์จ คิว. แคนนอน ผู้รับใข้เปีนที่ปรึกษาในฝ่ายประธานสูงสุดได้ให้พยาน หลักฐานเพิ่มเดิมเกี่ยวกับการให้อภัยของโจเซฟ สมิธดังนี้ “เนื่องด้วยโจเซฟ แก้ต่างให้ความจริงด้วยความเด็ดเดี่ยวและยึดมั่นในพระบัญญัติของพระผู้เปีน เจ้าด้วยความแน่วแน่ ท่านจึงมืเมตตาต่อคนอ่อนแอและคนผิดพลาด ในช่วงฤดู ร้อน ค.ศ. 1835 ท่านทำงานในสภาและที่ประชุมต่างๆ ในเคิร์ทแลนด์และละ แวกใกล้เคียง ท่านได้รับเลือกให้เข้าร่วมในการดำเนินคดีสมาชิกหลายคนซึ่ง ด้องถูกไต่สวนเพราะต่อด้านฝ่ายประธานสูงสูดของศาสนาจักร ไม่ว่าจะด้องแก้ คดีของผู้ถูกกล่าวหาหรือดำเนินการตามกฎหมาย แห้ตัวท่านเองจะเคยเปีนคน หนึ่งที่ถูกกลั่นแกล้งมาแก้ว แต่ท่านจะกระทำด้วยความอ่อนโยนและความยุติธรรมมากจนท่านได้ความรักจากทุกคน”3

คำสโอนฃองโจเซฟ สมิธ

เราต้องใช้หลักธรรมแห่งความเมตตาและให้อภัยพี่น้องชายหญิงของเรา

“ภาพสวยงามที่สูดภาพหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นได้บนแผ่นดินโลกเมื่อบุคคลหนึ่งทำบาปต่อบุคคลอีกคนหนึ่งคือให้อภัยบาปนั้น และสวดก้อนวอนทูลขอพระบิดา ในสวรรค์ของเรายกโทษให้ [คนบาปคนนั้น] ตามแบบแผนอันลํ้าเลิศและสูงส่ง ของพระผู้ช่วยให้รอด”4

“จงปฏิบัติหลักธรรมแห่งความเมตตาอยู่เสมอ และพร้อมจะให้อภัยพี่น้อง ของเราตั้งแต่ครั้งแรกที่เขาบอกเปีนนัยให้รู้ว่าเขากลับใจและขออภัย และหาก เราให้อภัยพี่น้องของเราหรือแม้แต่ศัตรูของเราก่อนที่เขาจะกลับใจหรือขออภัย พระบิดาบนสวรรค์จะทรงเมตตาเราทัดเทียมกัน”5

“จงอดทนและอดกลั้นต่อกัน เพราะพระเจ้าทรงทำเช่นนั้นกับเรา จงสวดอ้อนวอนให้ศัตรูของท่านในศาสนาจักรและอย่าแช่งด่าศัตรูที่อยู่นอกศาสนาจักร เพราะการแก้แค้นเป็นของเรา พระเจ้าตรัส และเราจะตอบสนอง [ดู โรม 12:19] เรากล่าวกับสมาชิกทุกคนที่ได้รับการวางมือแต่งตั้ง และกับคนทั้งปวง ว่า จงมืเมตตาและท่านจะพบความเมตตา พยายามช่วยให้จิตวิญญาณรอด อย่า ทำลายพวกเขา เพราะตามจริงแล้วท่านทราบว่า ‘จะมืความปรืดีในสวรรค์เพราะ คนบาปคนเดียวที่กลับใจใหม่มากกว่าเพราะคนชอบธรรมเก้าสิบเก้าคนที่ไม่ด้อง การกลับใจใหม่’ [ดู ลูกา 15:7]”6

อีไลซา อาร์. สโนว์รายงานคำพูดของศาสดาดังนี้ “[สิทธิชน] ควรมีเมตตา เป็นอาวุธแม้จะมืความชั่วร้ายในบรรดาพวกเรา ท่านกล่าวว่าท่านเคยเป็นเครื่อง มือในการเปีดโปงความชั่ว—นั่นเป็นความคิดที่น่าเศร้าและน่าสะพรึงกลัวเมื่อ คนมากมายยอมให้ตนเองอยู่ภายใต้การกล่าวโทษของมาร และไปสู่ความหายนะ ท่านกล่าวด้วยความรู้สึกในส่วนลึกว่าพวกเขาคือเพื่อนมนุษย์ เราเคยรักพวก เขา และเราจะไม่ส่งเสริมพวกเขาให้กลับตัวเป็นคนดีหรือ เรา [ยัง] ไม่ได้ให้ อภัยพวกเขาเจ็ดสิบคูณเจ็ดครั้งตังที่พระผู้ช่วยให้รอดทรงแนะนำ [ดู มัทธิว 18:21–22] บางทีเราอาจจะไม่เคยให้อภัยพวกเขาด้วยซํ้า มืวันแห่งความรอดสำหรับคนที่กลับใจและกลับตัวเป็นคนดี”7

“สมมติว่าพระเยซูคริสต์และเหล่าเทพผู้บริสุทธี้ไม่เห็นด้วยกับเราในเรื่องที่ ไม่สลักสำคัญ เราจะเป็นอย่างไร เราต้องเมตตากันและมองข้ามเรื่องเล็กๆ น้อยๆ”8

วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ สมาซิกโควร์บอัครสาวกสิบสองรายงานดังนี้ “โจเซฟกล่าว ว่าทุกอย่างดีระหว่างท่านกับห้องฟ้า ท่านไม่มืเจตนาเป็นศัตรูกับใคร คำสวดอ้อนวอนของพระเยซูหรือแบบแผนของพระองค์เป็นเช่นไร โจเซฟก็สวดอ้อนวอนเช่นนั้น—‘ข้าแต่พระบิดา ขอทรงโปรดยกบาปผิดของข้าพระองค์ เหมือนข้าพระองค์ยกโทษผู้ที่ทำผิดต่อข้าพระองค์นั้น’ [ดู มัทธิว 6:12, 14] เพราะข้าพเจ้าให้อภัยมนุษย์ทุกคนโดยเสรี หากเราอยากจะมืและปลูกฟังความ รักผู้อื่น เราต้องรักผู้อื่น แม้กระทั่งศัตรูของเราเช่นเดียวกับเพี่อนๆ ของเรา”9

การให้อภัยทำให้ความรู้สึกเปีนนํ้าหนึ่งใจเสียวกันกลับมาเหมือนเดิม

“ข้าพเจ้าเศร้าใจที่ไม่มีความสัมพันธ์ฉันมิตรมากกว่านี้ ถ้าสมาชิกคนหนึ่ง เปีนทุกข์ทุกคนน่าจะรู้สึกเปีนทุกข์ โดยเอกภาพของความรู้สึกเราจะมีพลังร่วม กันกับพระผู้เป็นเจ้า พระคริสต์ตรัสว่าพระองค์เสด็จมาเพื่อเรียกคนบาปสู่การ กลับใจ เพื่อช่วยให้พวกเขารอด พระคริสต์ทรงถูกชาวยิวที่มีคุณธรรมจอมปลอม กล่าวโทษเพราะพระองค์ทรงคบหากับคนบาป พระองค์ทรงพาพวกเขามาสู่ หลักธรรมเพื่อช่วยให้พวกเขากลับใจจากบาป…ถ้า [คนบาป] กลับใจ เราจะ รับเขาแน่นอน และจะชำระเขาให้บริสุทธี้ด้วยพระกรุณาและทำให้สะอาดจาก ความไม่ชอบธรรมทั้งมวลด้วยอิทธิพลของเราในการดูแลเขา…ไม่มีสิ่งใดนำผู้คนให้ละทิ้งบาปได้มากเท่าจับมือเขา และดูแลเขาด้วยความอ่อนโยน”10

ศาสดาโจเซฟ สมิธเขียนถึงผู้นำศาสนาจักรกลุ่มหนึ่งดังนี้ “พี่น้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอบอกท่านว่ามันเป็นนิสัยของข้าพเจ้าที่จะให้และให้อภัย อดทนและ อดกลั้นด้วยความอดทนนานและมีขันติต่อข้อบกพร่องเล็กๆ นัอยๆ ความเขลา ความอ่อนแอ และความชั่วของพี่นัองข้าพเจ้าและมนุษย์ทุกคนในโลก ความ เชื่อมั่นและความรักที่ข้าพเจ้ามีต่อท่านไม่เสื่อมคลายและไม่จืดจาง และบัดนี้ หากเราขอให้ท่านอดทนสักเล็กฟ้อยในความอ่อนแอและความเขลาของเรา และ ท่านถูกตำหนิ ก็อย่าเคืองเราเลย…เมื่อท่านกับข้าพเจ้าเผชิญหฟ้ากัน ข้าพเจ้า คาดหวังโดยไม่สงสัยแน่แต่ฟ้อยว่าทุกเรื่องระหว่างเราจะเข้าใจกันดี และจะบังเกิดความรักที่สมบูรณ์แบบ และพันธสัญญาศักดสิทธี้ที่ผูกบัดเราไว้ด้วยกัน จะมีที่มั่งสูงสุดในใจเรา”11

ศาสดาโจเซฟ สมิธกล่าวในขณะประชุมกับที่ปรึกษาของท่านในฝ่ายประธาน สูงสุดและอัครสาวกสิบสองดังนี้ “บางครั้งข้าพเจ้าพูดแรงเกินไปเพราะความ ทุนหันพลันแล่น และหากข้าพเจ้าทำร้ายความรู้สึกของท่าน พี่ฟ้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าขออภัยท่าน เพราะข้าพเจ้ารักท่านและจะคํ้าจุนท่านสูดหัวใจในความ ชอบธรรมทั้งมวล ต่อพระพักตร์พระเจ้าและต่อมนุษย์ทั้งปวง เพราะข้าพเจ้า มั่นใจ พี่ฟ้องทั้งหลาย ว่าข้าพเจ้ายอมสกัดกั้นการต่อด้านทุกอย่าง ในมรสุม และพายุร้าย ในฟ้าร้องและฟ้าแลบ ทางบกและทางทะเล ในแดนทุรกันดาร หรือท่ามกลางพี่น้องจอมปลอม หรือกลุ่มคนร้าย หรือไม่ว่าที่ใดก็ตามที่พระผู้เปีนเจ้าทรงเรียกเราด้วยเจตจำนงของพระองค์ ข้าพเจ้าตั้งใจว่าจะไม่แยกจากท่าน ไม่ว่าจะในความสูงหรือความลึก ตำแหน่งหรืออำนาจ สิ่งที่เป็นอยู่หรือสิ่งที่จะ มาถึง หรือสิ่งอื่นที่ทรงสร้าง [ดู โรม 8:38–39]

“และเวลานี้ข้าพเจ้าจะทำพันธสัญญากับท่านต่อพระพักตร์พระผู้เป็นเจ้าว่า ข้าพเจ้าจะไม่ฟ้งหรือเชื่อข่าวลือใดๆ ที่ทำให้ท่านเสื่อมเสีย หรือประจักษ์พยาน ใดๆ ภายใต้ห้องฟ้าที่กล่าวโทษท่าน เว้นแต่ประจักษ์พยานนั้นจะเชื่อถือไต้จริง จนกว่าข้าพเจ้าจะประจันหห้ากับท่าน และรู้แน่ชัด และข้าพเจ้าเชื่อมั่นในคำพูด ของท่านเสมอ เพราะข้าพเจ้าเชื่อว่าท่านเป็นคนมีสัจจะ ข้าพเจ้าขอร้องท่าน เรื่องเดียวกัน คือเมื่อข้าพเจ้าบอกท่านเรื่องใด ขอให้ท่านเชื่อมั่นในคำพูดของ ข้าพเจ้า เพราะข้าพเจ้าจะไม่บอกท่านว่าข้าพเจ้ารู้ในสิ่งที่ข้าพเจ้าไม่รู้”12

ไนฤดูไบไม้ร่วง ค.ศ. 1835 วิลเลียมน้องชายศาสดาไม่เห็นด้วยกับการตัดสิน ใจของศาสดา เขาโกรธแค้น และเริ่มปฏิบัติต่อศาสดาอย่างดูหมิ่นและยุยงผู้อื่น ให้ทำแบบเดียวกัน พฤติกรรมเช่นนี้ทำให้ศาสดาเสียใจ และท่านเขียนถึงวิลเลียมตังนี้ “น้องวิลเลียม พี่ปรารถนาให้เจ้าอ่อนน้อมถ่อมตน พี่ให้อภัยเจ้าเต็มที่ และเจ้ารู้จักนิสัยที่เด็ดเดี่ยวและไม่โลเลของพี่ พี่รู้ว่าพี่วางใจใคร พี่ยืนอยู่บน ศิลา น้ำาท่วมไม่สามารถพัดพาให้พี่ล้มลงไต้ มันจะไม่พัดพาให้พี่ล้มลง เจ้ารู้ว่า ถำสอนที่พี่สอนเป็นความจริง เจ้ารู้ว่าพระผู้เป็นเจ้าประทานพรพี่… เจ้ารู้ว่า หน้าที่ของพี่คือเตือนเจ้าเมื่อเจ้าทำผิด พี่มักจะใช้เสรีภาพนี้และเจ้าจะมีอภิสิทธี้ เดียวกัน พี่คือวิสาสะตักเตือนเจ้า เพราะสิทธิกำเนิดของพี่ และพี่ให้อภิสิทธี้ เจ้า เพราะหน้าที่ของพี่คืออ่อนห้อมถ่อมตน รับคำตำหนิและคำแนะนำสั่งสอน จากพี่น้องหรือเพื่อน …

“และมัดนี้ขอพระผู้เป็นเจ้าทรงมีพระเมตตาต่อครอบครัวคุณฟ่อของพี่ ขอ พระผู้เป็นเจ้าทรงขจัดความเป็นอริระหว่างพี่กับเจ้า และขอให้พรทุกอย่างกลับ มาเหมือนเดิม และลืมอดีตไปตลอดกาล ขอให้การกลับใจต้วยความอ่อนน้อมนำเราทั้งสองมาสู่พระองค์ โอ้ พระผู้เป็นเจ้า และมาสู่เดชานุภาพและความ คุ้มครองของพระองค์ และมงกุฎ เพี่อจะไต้อยู่กับคุณฟ่อ คุณแม่ อัลวิน ไฮรัม โซโฟรเมีย แซมิวเอล แคเธอรืน คาร์ลอส ลูซี่ และสิทธิชน และขอให้สันติสุข เป็นของทุกคนที่ไต้รับการชำระให้บริสุทธิ์ ตลอดกาล นี่คือคำสวดล้อนวอนของ พี่ชายเจ้า”13

วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1836 ศาสดาพูดถึงความพยายามของท่านที่จะแก้ไข ป้ญทาในครอบครัวดังนี้ “แน้ข้าพเจ้าจะมีความกตัญญอยู่เต็มหัวใจขณะใคร่ครวญเรื่องราวในปีที่ผ่านมา และพรนานัปการที่เปีนเหมือนมงกุฎบนศีรษะพวก เรา แต่ใจข้าพเจ้าเจ็บปวดอยู่ภายในเนื่องจากปัญหาที่มีอยู่ในครอบครัวของคุณ พ่อ … ข้าพเจ้าตั้งใจว่าจะปรับปรุงในส่วนของตนและจัดการแถ้ใขปัญหาทุก อย่าง ของครอบครัวในวันนี้ด้วยความละมุนละม่อม เพื่อในปีต่อๆ ไป ไม่ว่า จะมีปัญหามากน้อยเพียงใด เราจะใช้เวลาไปกับความชอบธรรมต่อเบื้องพระพักตร์พระผู้เปีนเจ้า …

“น้องวิลเลียม พื่ไฮรับ กับลุงจอห์น สมิธมาที่น้านข้าพเจ้า เราเข้าไปในน้อง หนึ่งด้วยกันกับคุณพ่อและเอ็ลเดอร์มาร์ติน แฮร์ริส คุณพ่อสมิธเปีดการสนทนา ของเราด้วยการสวดอ้อนวอน หลังจากนั้นท่านแสดงความคิดเห็นด้วยท่าทีที่ อ่อนโยนและเห็นใจอย่างมาก แม้ด้วยความเห็นอกเห็นใจทั้งหมดของพ่อคน หนึ่งผู้รู้สึกเจ็บปวดยิ่งนักเพราะปัญหาที่มีอยู่ในครอบครัว และขณะที่ท่านพูด กับเรา พระวิญญาณของพระผู้เปีนเจ้าสถิตอยู่กับเราในพระเดชานุภาพอันทรงฤทธี้ และใจเราอ่อนลง น้องวิลเลียมรับสารภาพด้วยความอ่อนน้อมและขอให้ ข้าพเจ้าอภัยการล่วงเกินที่เขาท่ ทาต่อข้าพเจ้า และข้าพเจ้าขอให้เขาอภัยในสิ่งที่ ข้าพเจ้ากระทำไม่ดีต่อเขา

“วิญญาณของการสารภาพและการให้อภัยเถิดขึ้นในบรรดาพวกเรา และเราทำพันธสัญญาต่อกันในสายพระเนตรของพระผู้เปีนเจ้า ต่อเหล่าเทพผู้บริสุทธ และพี่น้องว่านับจากนี้เป็นด้นไปเราจะพยายามเกื้อกูลกันในความชอบธรรมทุก อย่าง และไม่ฟ้งข่าวลีอที่ไม่ดีเกี่ยวกับพวกเรา แต่จะพูดคุยกันฉันพื่น้องเมื่อ เกิดความกับข้องใจด้วยวิญญาณของความอ่อนโยน และคืนดีกัน การทำเช่นนี้ จะล่งเสริมความสุขของเรา ความสุขของครอบครัว กล่าวโดยสรุปคือล่งเสริม ความสุขและความผาสุกของทุกคน เราเรียกภรรยาข้าพเจ้า คุณแบ่ และผู้จด ของข้าพเจ้าเข้ามาหลังจากนั้นและบอกพวกเขาอีกครั้งถึงพันธสัญญาที่เราท่า ขณะที่ความตื้นตันใจทําให้หัวใจพองโต นั้าตาเราไหลพราก จากนั้นข้าพเจ้าขอ ยุติการซักถามของเราด้วยการสวดอ้อนวอนและนั่นเป็นโอกาสและเวลาของ ความชื่นชมยินดีโดยแทั”14

โดยแสดงความอดทนนาน ขันติ และเมตตาต่อผู้กลับใจเราสามารถช่วยนำพวกเขามาสู่“เสรีภาพของบุตรที่รักของพระผู้เป็นเจ้า” ได้

ปลายคริสต์ศักราช 1838 วิลเลียน ดับเบิลยู. เฟลพ์สผู้เคยเปีนสมาชิกศาสนาจักรที่ได้รับความไว้วางใจ อยู่ในกลุ่มฅนที่เป็นพยานเท็จต่อด้านศาสดาและ ผู้นำศาสนาจักรท่านอื่น อันนำไปสู่การจองจำพวกท่านในรัฐมิสซูรี ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.840 บราเดอร์เฟลพ์สเขียนจดหมายขอโทมโจเซฟ สมิธ ศาสดา โจเซฟตอบดังนี้ “ผมต้องบอกว่าเป็นความรู้สึกไม่ธรรมดาเลยขณะพยายาม เขียนหนังสือสองสามบรรทัดตอบจดหมายที่คุณเขียนมาเมื่อวันที่ 29 [ของเดือน ที่แล้ว] แต่ขณะเดียวกันผมก็ดีใจกับสิทธิพิเศษที่ไต้รับ

“คุณคงพอจะทราบว่าผมรู้สึกอย่างไร เอ็ลเดอรัริกดันกับพื่ไฮรับรู้สึกอย่างไร เมื่อเราอ่านจดหมายของคุณ—โดยแทัแล้วใจเราอ่อนลงจนกลายเป็นความอ่อน โยนและความเห็นใจเมื่อเรารู้แน่ชัดถึงความตั้งใจของคุณ ฯลฯ ผมรับรองกับ คุณไต้ว่าผมรู้สึกว่าคุณมีความประสงค์จะดำเนินการบางอย่างเพื่อให็เปีนที่ยอมรับ ของพระเยโฮวาห์ (ผู้ที่ผมเปีนผู้รับใช้ของพระองค์) และสอดคล้องกับหลัก ธรรมแห่งความจริงและความชอบธรรมซึ่งไต้รับการเปีดเผย เนื่องต้วยความ อดกลั้น อดทน และเมตตาเป็นที่ประจักษ์มาช้านานในการปฏิบัติที่พระบิดาบน สวรรค์ทรงมีต่อผู้อ่อนนัอมถ่อมตนและผู้สำนึกผิด ผมจึงประสงค์จะลอกเลียน แบบ ยึดมั่นหลักธรรมเดียวกัน และโดยทำเช่นนี้ผมจะเป็นผู้ช่วยให้เพื่อนมนุษย์ รอด

“จริงอยู่ที่เราทนทุกข์มามากอันเป็นผลจากพฤติกรรมของคุณ—จอกแห่ง ความขมขื่นเต็มพอแล้วที่มนุษย์จะดื่ม เต็มจนล้นต้วยซํ้าเมื่อคุณทันมาต่อต้าน เรา คนที่เราหารือต้วยบ่อยๆ และมีความสุขกับช่วงเวลาสดชื่นเบิกบานที่ไต้รับ จากพระเจ้า—‘มิใช่ศัตรูผู้เยาะเย้ยข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไต้ทนไต้’ [ดู สดุดี 55:12–14] ‘ในวันที่เจ้ายึนเป็นปฏิปักษ์ ในวันที่คนต่างต้าวเอาทรัพย์สมบัติของเขาไป และคนต่างชาติเข้ามาทางประตูเมือง เขาจับฉลากเอา [ฟาร์เวสต์] กัน เจ้าก็ เหมือนคนเหล่านั้นคนหนึ่ง เจ้าไม่ควรยืนยิ้มอยู่ต้วยความพอใจ ในเมื่อห้องชาย ของเจ้ารับเคราะหในครั้งนั้น เจ้าไม่ควรเปรมปรีดิ์ในเมื่อเขาทั้งหลายถูกทำลาย เจ้าไม่ควรจะโล้อวดในวันที่เขาตกทุกข์ไต้ยาก’ [ดู โอบาดีห์ 1:11–12]

“อย่างไรก็ดี เราดื่มจอกนั้นแล้ว พระประสงค์ของพระบิดาลุล่วง เรายังมีชีวิต อยู่และเราขอบพระทัยพระเจ้าสำหรับสิ่งนั้น และโดยได้รับการปลดปล่อยจากมือ คนชั่วด้วยพระเมตตาของพระผู้เป็นเจ้า เราจึงพูดว่าคุณมืสิทธี้รับการปลอดปล่อย จากอำนาจของปรปักษ์ ถูกนำเข้าสู่เสรีภาพของบุตรที่รักของพระผู้เปีนเจ้าคืนลู่ ฐานะเดิมของคุณอีกครั้งท่ามกลางสิทธิชนของพระผู้สูงสุด จงถวายตนแต่พระผู้ เป็นเจ้าของเรา พระผู้เป็นเจ้าของคุณ และศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์ด้วย ความพากเพียร ความอ่อนน้อมถ่อมตน และความรักที่ไม่มืมารยา

“โดยเชื่อว่าตำสารภาพของคุณเป็นความจริง และคุณกลับใจแล้วจริง ผมจึง มืความสุขอีกครั้งที่ได้ยื่นมือขวาแห่งมิตรภาพให้คุณและปลื้มปีติในการกลับมา ของบุตรที่หายไป

“ผมอ่านจดหมายของคุณให้สิทธิชนฟ้งเมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมา และรับฟ้ง ความรู้สึกของพวกเขา ทุกคนเห็นพ้องเป็นเอกฉันทให้รับตับเบิลยู. ดับเบิลยู. เฟลฟ้สเข้าสู่การเป็นสมาชิก

“‘มาเถิด น้องรัก สงครามผ่านพ้นไปแล้ว

เดิมทีเป็นเพื่อนกัน สุดห้ายก็เป็นเพื่อนกันอีก’ ”15

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเดิมได้ที่หบ้า ⅶ–ⅹⅱ

  • บทนี้มีเรื่องราวหลายเรื่องที่โจเซฟ สมิธให้อภัยผู้อื่น อ่านทวนเรื่องเหล่านี้ใน หน้า 421–423, 426–427, และ 428–430 เรื่องเหล่านี้จะช่วยคนที่กำลัง พยายามให้อภัยกันในทางใดน้าง

  • มีพรอะไรเข้ามาในชีวิตเราห้างเมื่อเราให้อภัยคนที่นำให้เราขุ่นเคือง เหตุใด บางครั้งเราจึงไม่อยากให้อภัยผู้อื่น เราทำอะไรได้ห้างเพื่อจะมีวิญญาณของ การให้อภัยมากขึ้น

  • หบ้า 424 มีคมวาทะสั้นๆ เกี่ยวกับการให้อภัยผู้อื่น ตัวอย่างเช่น “จงอดทน และอดกลั้นต่อกัน เพราะพระเจ้าทรงห้าเช่นนั้นกับเรา” “จงมีเมตตาและ ทำนจะพบความเมตตา” “พยายามช่วยให้จิตวิญญาณรอด อย่าห้าลายพวก เขา” “เราด้องเมตตากันและมองข้ามเรื่องเล็กๆ ห้อยๆ” ทำนได้อะไรห้าง จากข้อความแต่ละประโยค

  • ในย่อหห้าแรกของหห้า 425 อ่านทวนคำพูดของศาสดาใจเซฟ สมิธเกี่ยวกับ ผลของความอ่อนโยนและความกรุณา ท่านคิดว่าเหตุใดคำแนะนำนี้จึงเปีน ความจริง ท่านเคยประสบหลักธรรมเหล่านี้ในชีวิตท่านอย่างไร

  • อ่านทวนย่อหนัาแรกของหนัา 426 เราอาจหลีกเลี่ยงปัญหาอะไรได้ห้างเมื่อ เราทำตามคำแนะนำตังกล่าว เหตุใดบางครั้งเราจึงทำตามคำแนะนำนี้ได้ยาก เราจะเอาชนะการล่อลวงให้เชื่อข่าวลือผิดๆ เกี่ยวกับผู้อื่นได้อย่างไร

  • ขณะพยายามให้อภัยผู้อื่น ศาสดาพูดถึงความปรารถนาของท่านที่จะ “ลอก เลียนแบบ” พระบิดาบนสวรรค์ (หนัา 428) และดำเนินชีวิต “ตาม แบบแผนอันลั้าเลิศและสูงส่งของพระผู้ช่วยให้รอด” (หนัา 423) ขณะ พยายามทำตามแบบอย่างของพระบิดาบนสวรรค์และพระเยซูคริสต์ เราควร พยายามพัฒนาคุณสมบัติใดบ้าง

ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: สดุดี 86:5; บัทธิว 18:21–35; 1 นีไฟ 7:16–21; โมไซยา 26:29–31; ค.พ. 64:9–11

อ้างอิง

  1. History of the Church, 4:268; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมีธและที่ปรึกษา ของท่านในฝ่ายประธานสูงสุดเขียนถึง สิทธิชน 15 ม.ค. 1841 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพัใน Times and Seasons, Jan. 15, 1841, pp. 273–74.

  2. Daniel Tyler ใน “Recollections of the Prophet Joseph Smith,” Juvenile Instructor, Aug. 15, 1892, p. 491; เปลี่ยนเครื่องหมาย วรรคตอนให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการ แบ่งย่อหน้า

  3. George Q. Cannon, The Life of Joseph Smith, the Prophet (1888), pp. 190–91.

  4. History of the Church,6:245; จาก “A Friendly Hint to Missouri” บทความที่เขียนภายใต้การกำกับดูแล ของโจเซฟ สมิธ 8 มี.ค. 1844 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมฟ้ไน Times and Seasons, Mar. 15, 1844, p. 473.

  5. History of the Church,3:383; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมีธเมื่อ 2 ก.ค. 1839 ในมอนโทรส ไอโอวา; รายงานโดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็และวิลาร์ด ริชาร์ดส์

  6. History of the Church, 2:230, footnote; จาก “To the Saints Scattered Abroad,” Messenger and Advocate, June 1835, p. 138.

  7. History of the Church, 5:19–20; คำในวงเล็บอยู่ในต้นฉบับ; ปรับเปลี่ยน การแบ่งย่อหน้า; จากคำปราศรัยของ โจเซฟ สมีธเมื่อ 26 พ.ค. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย อีไลซา อาร์. สโนว์

  8. History of the Church, 5:23; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมีธเมื่อ 9 มี.ย. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย อีไลซา อาร์. สโนว์

  9. History of the Church, 5:498; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; จากคำปราศรัยของใจเซฟ สมีธเมื่อ 9 ก.ค. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  10. History of the Church, 5:23–24; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมีธเมื่อ 9 มี.ย. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย อีไลซา อาร์. สโนว์

  11. จดหมายที่โจเซฟ สมีธเขียนถึงเอ็ดเวิร์ด พาร์ท่ริดจ์และคนอื่นๆ 30 มี.ค. 1834 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; ใน Oliver Cowdery Letterbook, pp. 34–35 หอสมุดฮันทิงตัน ซานมาริโน แคลิฟอรณย; สำเนาอยู่ในหอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท้เลคซิตี้ ยูทาห์

  12. History of the Church, 2:374; ปรับ เปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากบันทึกการ ประชุมสภาของฝ่ายประธานสูงสุดและ อัครสาวกสิบสอง เมื่อ 16 ม.ค. 1836 ในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; รายงานโดย วอร์เร็น พารัริช

  13. History of the Church, 2:343; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงวิลเลียม สมิธ 18 ธ.ค. 1836 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  14. History of the Church,2:352–54; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากข้อมูล บันทึกส่วนตัวของโจเซฟ สมิธ 1 ม.ค. 1836 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  15. History of the Church, 4:162–64; คำในวงเล็บชุดที่สองของย่อหน้าที่สาม อยู่ในต้นฉบับ; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรค ตอนไท้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่ง ย่อหน้า; เพิ่มตัวเอน; จากจดหมายที่ โจเซฟ สมิธเขียนถึงวิลเลียม ตับเบิลยู. เฟลพ์ส 22 ก.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์

ภาพ
Christ teaching

พระผู้ช่วยให้รอดแสดงความเห็นอกเห็นใจต่อหญิงที่ล่วงประเวฌี (ดู ยอห้น 8:1–11) “พระคริสต์ตรัสว่าพระองค์เสด็จมา เพื่อเรียกคนบาปสู่การกลับใจเพื่อช่วยให้พวกเขารอด” โจเซฟ สปีธบระกาศ

ภาพ
W. W. Phelps speaking with Joseph

ภาพวิลเลียม ดับบิลยู. เฟลฟึส กับโจเชฺฟ สป็ธหลังจากวิลเลียมกลับมาเป็นแนวร่วม กับสิทธิชนเหมือนเดิม เขาเขียนเกี่ยวกับศาสดาผู้ให้อภัยเขาอย่างใจกวัางว่า “สรรเสริญบุรุบผู้ติดต่อพระยะโฮวา” (เพลงสวด บทที่ 14)