คำสอนของประธานศาสนจักร
บททื่ 14: ถ้อยคำแห่งความหวังและ การ ปลอบประโลม ในช่วงเวลาแห่งความตาย


บททื่ 14

ถ้อยคำแห่งความหวังและ การ ปลอบประโลม ในช่วงเวลาแห่งความตาย

“เราปีอะไรปลอบประโลมเราเกี่ยวอับคนตายเล่าเราปีเหตุผลที่จะปีความหวังอันสูงสุดและการปลอบประโลมลําหรับคนตายของเราไม่ว่าจะเป็นใครก็ตามบนแผ่นดินโลก”

จากชีวิตฃองโจเซฟ ลมิธ

การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักให้แก่ความตายส่งผลกระทบถึงชีวิตของศาสดา โจเซฟ สมิธหลายครั้งหลายครา วันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1828 ในเมืองฮาร์ โมนี รัฐเพนน์ซิลเวเนีย อัลวินบุตรชายคนแรกของโจเซฟกับเอ็มมาเสียชีวิต ไข่นานหลังคลอด เมื่อโจเซฟกับเอ็มมาย้ายจากรัฐนิวยอร์กไปเมืองเคิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1831 เอ็มมาตั้งครรภ์อีกครั้ง คราวนี้เปีนลูก แฝด ไข่นานหลังจากใจเซฟและเอ็มมามาถึงเคิร์ทแลนด์ พวกท่านก็ย้ายไปอยู่ กระท่อมที่ฟาร์มของสมาชิกศาสนาจักรชื่อไอแซค มอร์ลีย์ ที่นั่น เมื่อวันที่ 30 เมษายน แธดเดืยสกับหลุยซาคลอดจากครรภ์มารดา แต่พวกเขามืชีวิตอยู่ไข่ นานก็เสียชีวิตภายในไข่กี่ชั่วโมงหลังคลอด

เวลาเดียวกันนั้นในเมืองวอร์เรนสวิลล์ โอไฮโอ ซึ่งอยู่ใกล้ๆ บราเดอร์จอห์น เมอร์ด็อคสูญเสียจูเลียภรรยาที่เพิ่งคลอดบุตรฝาแฝดสุขภาพดี โดยที่ครอบครัวมี บุตรห้าคนอยู่แล้ว บราเดอร์เมอร์ด็อคจึงรู้สึกว่าไข่สามารถดูแลบุตรฝาแฝดที่เกิด ใหม่ได์ เขาขอให้โจเซฟและเอ็มมารับไปเปีนบุตรบุญธรรม โจเซฟกับเอ็มมา รับเด็กทารกทั้งสองชื่อโจเซฟกับจูเสีย เข้ามาในครอบครัวค้้วยความยินดี น่าเศร้า ที่เด็กห้อยโจเซฟ เมอร์ด็อคเสียชีวิต 11 เดือนต่อมาในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1832 อ้นเป็นผลจากภูกอากาศเย็นตอนกลางคืนขณะเป็นโรคหัดเวลาเดียวกันกับที่ ศาสดาถูกปฏิปักษ์กลุ่มหนึ่งเอายางมะตอยกับขนนกทาตัว ภ้ารวมการเสียชีวิต ครั้งนี้ พ่อแม่ทื่กำลังเศร้าโศกได้ฝังบุตรไปแล้วสี่คนจากห้าคนแรก เหลือเพียง จูเลืยเป็นบุตรที่ยังมีชีวิตอยู่

จากบุตรสิบเอ็ดคนของโจเซฟและเอ็มมา—เก้าคนเกิดจากพวกท่านและรับ เป็นบุตรบุญธรรมสองคน—ห้าคนเท่านั้นที่มีชีวิตจนเป็นผู้ใหญ่ ได้แก่ จูเลีย เบอร์ด็อคเกิดในปี ค.ศ. 1831 โจเซฟที่สามเกิดในปี ค.ศ. 1832 เฟรเดริคเกิด ในปี ค.ศ. 1836 อเล็กซานเดอร์เกิดในปี ค.ศ. 1838 และเดวิดเกิดในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1844 ห้าเดือนหลังจากบิดาเสียชีวิต ดอนคาร์ลอลบุตรชาย วัย 14 เดือนของโจเซฟและเอ็มมาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1841 และบุตรชายที่ คลอดในปี ค.ศ. 1842 เสียชีวิตในวันที่เกิด

ในช่วงชีวิตของท่านโจเซฟ สบิธสูญเสียพี่น้องสามคนให้ความตายก่อนเวลา อันควร เอฟราอิมเสียชีวิตหลังเกิดได้ไม่นานในปี ค.ศ. 1810 อัลวินพี่ชายของ โจเซฟเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1832 เมื่ออายุ 25 ปี และดอนคาร์ลอสน้องชายเสีย ชีวิตในปี ค.ศ. 1841 ขณะอายุ 25 ปีเช่นเดียวอัน

ศาสดาประสบการสูญเสียครั้งใหญ่อีกครั้งเมื่อบิดาผู้ที่ท่านขอคำแนะนำและ กำลังใจต้องมาจบชีวิตลงที่เมืองนอวู รัฐอิลลินอยส์ ในปี ค .ศ. 1840 เมื่อคุณ พ่อสบิธรู้ตัวว่ากำลังจะสิ้นใจ เขาได้เรียกครอบครัวมาอยู่ข้างเตียง และพูดก้บ ภรรยาว่า “เมื่อผมมองดูลูกๆ ของผมและทราบดืว่าแม้เราจะเลี้ยงดูพวกเขาให้ทำงานของพระเจ้า แต่พวกเขาก็ด้องพบเจอความยากกำบากและความทุกข์ ทรมานตราบที่พวกเขามีชีวิตอยู่บนแผ่นดินโลก ใจผมเจ็บปวดและผมหวาดหวั่น ที่ด้องทิ้งคุณไล้ท่ามกลางศัตรู”1

จากนั้นเขาพูดอับบุตรชายหญิงทีละคนเพี่อให้พรเปีนครั้งสูดท้าย มารดาของ ศาสดาบันทึกไล้ว่าเขาพูดล้อยกำเหล่านี้โดยรับรองต่อศาสดาโจเซฟว่า

“‘โจเซฟลูกพ่อ เจ้าได้รับเรียกสู่การเรียกอันสูงส่งและศักดิ์สิทธี้ เจ้าได้รับ เรียกให้ทำงานของพระเจ้า จงซื่อสัตย์และลูกจะได้รับพร และลูกหลานต่อจาก ลูก ลูกจะมีชีวิตจนทำงานของลูกเสร็จ’

“โจเซฟร้องไห้และพูดออกมาว่า ‘โธ่ คุณพ่อ ผมนํะหรือ’ ‘ใช่’ บิดาของ ท่านตอบ ‘ลูกจะน่ชีวิตเพี่อวางแผนงานทั้งหมดซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงให้ลูกทำ นี่ คือพรก่อนตายที่พ่อให้ลูกในพระนามของพระเยซู’”2

ประสบการณ์ยู่งยากเหล่านี้จากชีวิตท่านและความเข้าใจอันลึกซึ้งของท่านใน การชดใช้ของพระผู้ช่วยให้รอดส่งผลให้ศาสดาโจเซฟ สมิธสามารถให้การ ปลอบโยนอันเป็นที่ค้้องการยิ่งแก่สิทธิชนมากมายที่กำลังทุกข์โศก

คำลอนฃองโจเซฟ ลมิธ

เมื่อสมาชิกครอบครัวหรือเพื่อนที่เรารักตายจากไป เราได้รับการปลอบโยนอย่างมากในความรู้ที่ว่าเราจะพบพวกเขา อีกครั้งในโลกที่จะมาถึง

ศาสดาพูดที่การประชุมใหญ่ของศาสนาจักรในนอวูเมื่อ 7 เมษายน ค.ศ. 1844 ท่านพูดถึงคิง ฟอลเล็ต เพื่อนของท่านที่เพิ่งเสียชีวิต ดังนี้ “สิทธิชนที่รัก ทั้งหลาย ข้าพเจ้าใคร่ขอให้ทุกท่านในที่ประชุมนี้ตั้งใจฟ้งขณะที่ข้าพเจ้าพูดเรื่อง คนตายกับพวกท่าน ความตายของน้องชายที่รักของเรา เอ็ลเดอร์คิง ฟอลเล็ด ผู้ถูกบดขยี้อยู่ในบ่อเพราะถูกลังบรรจุหินหล่นใส่ ทำให้ข้าพเจ้านึกถึงเรื่องนี้ขึ้น มาทันที มิตรสหายและญาติๆ ของเขาขอให้ข้าพเจ้าพูด แต่มีหลายคนในที่ ประชุมแห่งนี้ผู้อาศัยอยู่ในเมืองนี้และในเมืองอื่นเคยสูญเสียเพื่อนมาแล้ว ข้าพ เจ้าจึงอยากจะพูดเรื่องนี้อย่างกว้างๆ และเสนอความคิดของข้าพเจ้าเท่าที่ข้าพ เจ้าจะสามารถทำไต้ และเท่าที่ข้าพเจ้าจะไค้้รับการดลใจจากพระวิญญาณศักติ์ สิทธิ์ให้พูดเรื่องดังกล่าว ข้าพเจ้าต้องการให้ท่านสวดล้อนวอนและมีศรัทธาว่า พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงฤทธานุภาพจะประทานพระดำรัสแนะนำและของประทาน แห่งพระวิญญาณบริสุทธิ์แก่ข้าพเจ้า เพื่อที่ข้าพเจ้าจะนำออกมาซึ่งสิ่งที่เปีนความ จริงซึ่งท่านจะเข้าใจไค้้ง่าย และประจักษ์พยานซึ่งจะนำความเชื่อมั่นในความจริง ของสิ่งที่ข้าพเจ้าจะพูดมาสูไจและความคิดท่าน …

“… ข้าพเจ้าทราบว่าประจักษ์พยานของข้าพเจ้าเป็นความจริง เพราะฉะนั้น เมื่อข้าพเจ้าพูดคุยกับผู้ทุกข์โศกเหล่านี้ ข้าพเจ้าจึงถามว่าพวกเขาสูญเสียอะไร บรรดาญาติและมิตรสหายของพวกเขาถูกแยกจากร่างกายเพียงช่วงสั้นๆ เท่านั้น วิญญาณของพวกเขาซึ่งดำรงอยู่กับพระผู้เป็นเจ้าไต้ออกจากร่างที่ทำต้วยดิน เหนียวเพียงชั่วคราว และตอนนี้พวกเขาอยู่ในที่แห่งหนึ่งซึ่งพวกเขาสนทนากัน เหมือนกับที่พวกเราสนทนากันบนแผ่นดินโลก …

“… เรามือะไรปลอบประโลมเราเกี่ยวกับคนตายเล่า เรามีเหตุผลที่จะมืความ หวังอันสูงสูดและการปลอบประโลมลําหรับคนตายของเราไม่ว่าจะเป็นใครก็ตาม บนแผ่นดินโลก เพราะเราเห็นพวกเขาดำเนินชีวิตอย่างมืค่าควรท่ามกลางพวก เรา และเห็นพวกเขาหลับใหลในพระพาหุของพระเยซู …

“เมื่อพูดถึงการเสียชีวิตของเอ็ลเดอร์คิง ฟอลเล็ต ผู้ทุกข์โศกทั้งหลาย ท่าน มีโอกาสปลื้มปีติเพราะสามีและบิดาของท่านไปรอท่านอยู่ก่อนแล้วจนถึงการ ฟื้นคืนชีวิตของคนตาย—จนถึงความสมบูรณ์พร้อมของคนที่เหลือ เพราะที่การ ฟื้นคืนชีวิต เพื่อนของท่านจะคืนชีพในความเกษมศานต์และไปสู่รัศมีภาพชั้น สูง …

“ข้าพเจ้าได้รับสิทธิอำนาจให้พูดโดยสิทธิอำนาจของพระวิญญาณบริสุทธี้ว่า ท่านไม่มีเหตุที่จะกลัว เพราะเขาล่วงลับไปสู่บ้านของคนเที่ยงธรรม ไข่ต้องทุกข์ โศก ไม่ด้องร้องไห้ ข้าพเจ้าทราบเรื่องนี้โดยประจักษ์พยานของพระวิญญาณ บริชุทธี้ที่อยู่ในข้าพเจ้า และขอให้ท่านรอเพื่อนๆ ออกมาพบท่านในรุ่งอรุณของ โลกอาณาจักรชั้นสูง …

“ข้าพเจ้ามีพ่อ พี่ชาย น้องชาย ลูกๆ และบิดรสหายผู้ล่วงลับไปอยู่โลกแห่ง วิญญาณ พวกเขาไม่อยู่เพียงชั่วประเดี๋ยวเท่านั้น พวกเขาอยู่ในวิญญาณ และ เราจะพบพวกเขาอีกครั้งในไม่ข้า เวลาจะมาถึงในไม่ข้าเมื่อแตรจะดัง เมื่อเรา จากไปเราจะต้อนรับมารดา บิดา มิตรสหาย และทุกคนที่เรารัก ผู้ล่วงหลับในพ ระเยซู จะไม่กลัวกลุ่มคนร้าย การข่มเหง หรือการฟ้องร้องและการจับกุมที่ชั่ว ร้ายอำมหิต แต่จะเป็นนิรันดรของความสุขเกษม”3

เอ็ลเดอร์ลอเรพเโช ดี. บาร์นส์เสียชีวิตขณะรับใพ้ป็นผู้สอนศาสนาในประเทศอังกฤษ ศาสดาพูดถึงการจากไปของเขาที่การประชุมซึ่งจัดไนพระวิหารนอวู ที่อังไปแล้วเสร็จว่า “ข้าพเจ้าจะบอกท่านถึงสิ่งที่ข้าพเจ้าต้องการ หากพรุ่งนี้ ข้าพเจ้าถูกเรียกให้ลงไปนอนในหลุมศพ ในเข้าของการฟื้นคืนชีวิตขอให้ข้าพเจ้า ได้จับมือกับคุณพ่อและร้องว่า ‘คุณพ่อจองผม’ และท่านจะพูดว่า ‘ลูกพ่อ ลูก พ่อ’ ทันทีที่ล้อนหินแยกออกและก่อนที่เราจะออกมาจากหลุมศพ

“และเราคิดในทำนองนี้หรือไข่ คิด ภ้าเราเรียนรู้ว่าเรามีชีวิตอย่างไรและตาย อย่างไร เมื่อเรานอนลง เราใคร่ครวญว่าเราจะลุกขึ้นอย่างไรตอนเข้า และเป็น เรื่องน่ายินดีที่มิตรสหายจะนอนลงด้วยกันในอ้อมแขนแห่งความรัก หลับและ ตื่นในอ้อมกอดของกันและกันและได้สนทนากันอีกครั้ง

“ท่านจะคิดว่าแปลกไหมถ้าข้าพเจ้าบอกสิ่งที่ข้าพเจ้าเห็นในภาพปรากฎเกี่ยวกับ เรื่องน่าสนใจนี้ คนที่เสียชีวิตในพระเยซูคริสต์อาจคาดหวังว่าจะบรรลุถึงความปีติ ยินดีซึ่งพวกเขาครอบครองหรือมุ่งหวังในชีวิตนี้ เมื่อพวกเขาออกมาจากหลุมศพ

“ภาพปรากฎนั้นชัดมากจนข้าพเจ้าเห็นมนุษย์จริงๆ ก่อนที่พวกเขาจะขึ้นมา จากหลุมศพ ราวกับพวกเขากำลังลุกขึ้นยืนช้าๆ พวกเขาจับมือกันและพูดกันว่า ‘พ่อของผม ลูกชายของผม คุณแม่ของผม ลูกสาวของผมพี่ชายของผม น้อง สาวของผม’ และเมื่อเสียงเรียกให้คนตายลุกขึ้น สมมติว่าข้าพเจ้านอนข้างคุณ ฟอ อะไรน่าจะเป็นความปีติยินดีครั้งแรกของใจข้าพเจ้า คือการได้พบคุณพ่อ คุณแม่ พี่ชาย น้องสาว และเมื่อพวกเขามาอยู่ข้างๆ ข้าพเจ้าโอบกอดพวกเขา และพวกเขาโอบกอดข้าพเจ้า …

“ความคิดเรื่องการดับสูญทำให้ข้าพเจ้าเจ็บปวดมากกว่าความตาย ถ้าข้าพ เจ้าไม่คาดหวังว่าจะได้เห็นคุณพ่อ คุณแม่ พี่ชายน้องชาย พี่สาวน้องสาว และ เพี่อนๆ อีกครั้ง ใจข้าพเจ้าคงสลายเดี๋ยวนั้น และข้าพเจ้าคงลงไปสู่หลุมศพ ความคาดหวังว่าจะได้เห็นเพี่อนๆ ในเข้าของการฟื้นคืนชีวิตทำให้จิตวิญญาณ ของข้าพเจ้าเปรมปรีดี์และเป็นเหตุให้ข้าพเจ้าทนต่อความชั่วร้ายของชีวิตได้ ความตายเปรียบเสมือนการเดินทางไกลของพวกเขา และเราพบพวกเขาด้วย ความปีติยินดีที่เพิ่มขึ้นระหว่างที่พวกเขาเดินทางกลับ …

“กับมาร์เซลลัส เมทส์ [สมาชิกศาสนาจักรที่ภรรยาของเขาเสียชีวิต] ข้าพเจ้าขอให้การปลอบโยนว่า คุณจะได้พบคู่ชีวิตของคุณในไม่ข้าในโลกแห่ง รัศมีภาพ และข้าพเจ้าประกาศเช่นเดียวกันนี้ต่อเพี่อนๆ ของบราเดอร์บาร์เนส และสิทธิชนทุกคนที่กำลังทุกข้โศก นี่คือเสียงเตือนถึงเราทุกคนว่าจงมืสติ พาก เพียร และทิ้งความสำเริงสำราญ ความไร้สาระ และความโง่เขลา และพร้อมจะ ตายในวันรุ่งขึ้น”4

บิดามารดาที่สูญเสียบุตรให้แก่ความตายจะได้รับพวกเขา ในการฟ้นคืนชีวิตเหมือนตอนที่ฟึ้งพวกเขา

ในพิธีศพของมาเรียน ลือองวัยสองขวบ ศาสดากล่าวว่า “เราได้ยินเสียง เตือนดังขึ้นอีกครั้งห่ามกลางพวกเรา ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความไม่แน่นอนของ ชีวิตมนุษย์ และในยามว่างข้าพเจ้าได้ตรีกดรองเรื่องนี้ และถามว่าเหตุใดเด็ก ทารก เด็กที่ไม่รู้เดียงสาจึงถูกพรากไปจากพวกเรา โดยเฉพาะเด็กที่ดูเหมือนจะ ฉลาดหลักแหลมและน่าสนใจที่สุด เหตุผลสำคัญที่สุดที่เสนอตัวต่อความคิด ของข้าพเจ้าคือ โลกนี้เป็นโลกที่ชั่วร้ายมาก … ชั่วร้ายและเสื่อมทรามมากขึ้น ทุกวัน … พระเจ้าทรงนำหลายคนไป แบ้ในวัยทารก เพี่อพวกเขาจะรอดพีน จากความอิจฉาของมนุษย์ ความเศร้าโศก และความชั่วร้ายของโลกปัจจุบัน พวกเขาบริสุทธี้และน่ารักเกินกว่าจะอยู่บนแผ่นดินโลก ด้วยเหตุนี้ถ้าพิจารณา ให้ถ้วนถี่ แทนที่จะทุกบ์โศก เรามีเหตุให้ปลื้มปีติเมื่อพวกเขาได้รับการปลด ปล่อยจากความชั่วร้าย และเราจะได้พบพวกเขาอีกครั้งในไม่ช้า …

“… ความแตกต่างเพียงอย่างเดียวระหว่างการเสียชีวิตตอนอายุมากกับตอน อายุน้อยคือ คนหนึ่งจะอยู่ในสวรรค์ ในความสว่างและรัศมีภาพนิรันดร์ยาวนาน กว่าอีกคนหนึ่ง และเป็นอิสระจากโลกอันน่าเวทนาและชั่วร้ายเร็วกว่าเล็กห้อย ถึงแม้เรื่องราวจะเป็นดังนี้ แต่เราก็ยังลืมคิดไปชั่วขณะ และทุกข์โศกกับการสูญ เสีย แต่เราไข่ทุกข์โศกเหมือนคนไร้ความหวัง”5

“อาจมีคำถามว่า ‘บุตรจะอยู่กับมารดาในนิรันดรหรือไข่ อยู่แน่นอนมารดา ทั้งหลาย บุตรของท่านจะอยู่กับท่าน เพราะพวกเขาจะมีชีวิตนิรันดร์ เพราะหนี้ ของเขาชำระแห้ว”6

“เด็กๆ … ต้องคืนชีพเหมือนตอนที่พวกเขาสิ้นชีวิต ที่นั่นเราจะด้อนรับเด็ก น้อยน่ารักของเราด้วยความปลาบปลื้มอย่างเดียวกัน—ความเบิกบานใจอย่างเดียวกันในรัศมีภาพชั้นสูง”7

ประธานโจเซฟ เอฟ. สนิธ ประธานศาสนาจักรคนที่หกรายงานว่า “โจเซฟ สมิธสอนหลักคำสอนว่าเด็กทารกที่ถูกฟังในความตายจะเป็นเด็กเหมือนเติมใน การฟื้นคืนชีวิต และสำหรับมารดาของเด็กที่เสียชีวิต ท่านกล่าวลับเธอว่า ‘คุณ จะมืความปีติยินดี ความสุขใจ และความพึงพอใจที่ได้เลี้ยงดูบุตรคนนี้หลังจาก การฟื้นคืนชีวิต จนกว่าเขาจะเติบโตจนเต็มขนาดวิญญาณของเขา’ …

“คริสต์ศักราช 1854 ข้าพเจ้าพบคุณป้า [แอ็กเนส สมิธ] ภรรยาของคุณอา ดอนคาร์ลอส สมิธโดยบังเอิญ เธอเป็นมารดาของเด็กหญิง [โซโฟรเนีย] ที่ใจ เซฟ สมิธศาสดากำลังพูดถึง ท่านบอกมารดาคนนั้นว่าเธอจะมืความปีติยินดี ความสุขใจ และความพึงพอใจที่ได้เลี้ยงดูบุตรคนนั้นหลังจากการฟันคืนชีวิต จนกว่าเขาจะเติบโตเต็มขนาดวิญญาณของเขา และจะเป็นความปีติยินดีเกิน กว่าที่เธอจะมืได้ในความเป็นมรรตัย เพราะเธอจะเป็นอิสระจากความเศร้าโศก ความกลัว และทุพพลภาพของชีวิตมรรตัย และเธอจะรู้มากกว่าที่เธอจะรู้ได้ใน ชีวิตนี้ ข้าพเจ้าพบหญิงม่ายคนนั้น มารดาของเด็กคนนั้น และเธอเล่าสถาน การณ์นี้ให้ข้าพเจ้าพึงและแสดงประจักษ์พยานต่อข้าพเจ้าว่านี่คือสิ่งที่ศาสดาโจ เซฟ สมิธกล่าวเมื่อท่านพูดที่งานศพบุตรสาวตัวน้อยของเธอ”8

แมรี อิซาเบลลา ฮอร์น กับลีโอโนรา แคนนอน เทย์เลอร์ต่างสูญเลียลูก น้อยให้ความตาย ซิสเตอร์ฮอร์นเล่าว่าศาสดาโจเซฟ สมิธกล่าวปลอบโยนสตรี ทั้งสองดังนี้ “ท่านบอกว่าเราจะได้รับลูกในเข้าของการฟื้นคืนชีวิตเหมือนตอน ที่เราฟังพวกเขา ในความบริสุทธี้และความไร้เดียงสา และเราจะอุ้มชูลูแลพวก เขาเฉกเช่นมารดาของพวกเขา ท่านกล่าวว่าเด็กๆ จะลุกขึ้นในการฟื้นคืนชีวิต เหมือนตอนที่พวกเขาถูกฟัง และพวกเขาจะได้สติปัญญานั้งหมดที่จำเป็นต่อ การครอบครองบัลลังก์ เขตปกครอง และอำนาจ”9

แม้เราจะทุกข์โศกเมื่อคนที่เรารักเสียชีวิต แต่เราวางใจได้ว่า “พระผู้เป็เนเจ้าของคนทั้งโลกจะทรงทำในสิ่งที่ถูกที่ควร”

ในพิธีศพของเอฟราอิม มาร์คส์วัย 24 ปี ศาสดาประกาศว่า “นี่เปีนเวลาที่ จริงจังมากและน่าเกรงขาม ข้าพเจ้าไข่เคยรู้สึกจริงจังมากเท่านี้มาก่อน บันทำ ให้ข้าพเจ้านึกถึงอัลวินพี่ชายคนโตที่เสียชีวิตในนิวยอร์ก และดอนคาร์ลอส สมิธน้องชายคนเล็กที่เสียชีวิตในนอวู มันยากที่ข้าพเจ้าจะมืชีวิตอยู่บนแผ่นดิน โลกและเห็นคนหนุ่มเหล่านี้ผู้ที่ข้าพเจ้าพึ่งพาความช่วยเหลือและการปลอบโยน ถูกพรากไปจากเราในวัยหนุ่มของพวกเขา มันยากที่จะก้มหน้ารับเรื่องเหล่านี้ บางครั้งข้าพเจ้าคิดว่าข้าพเจ้าน่าจะก้มหน้ารับความตายเสียเองหากนั่นเป็นพระ ประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า แต่ข้าพเจ้าทราบว่าเราควรนิ่งเสียและรู้ว่านั่นมาจาก พระผู้เป็นเจ้าและก้มหน้าทำตามพระประสงค์ของพระองค์ ทุกอย่างจะราบรื่น อีกไม่นานเราทุกคนจะถูกเรียกกลับบ้านในแบบเดียวกัน ข้าพเจ้าอาจจะถูกเรียก ใบ้ตายเช่นเดียวกับพวกทำน”10

เมื่อวันที่ 6 มิถุนพน ค.ศ. 1832 ใจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็นมา สมิธว่า “ผม เสียใจมากที่ทราบข่าวว่าไฮรัมสูญเสียลูกน้อยของเขา ผมคิดว่าเราแสดงความ เห็นอกเห็นใจเขาไค้้ในระดับหนึ่ง แต่เราทุกคนต้องก้มหน้ารับชะตากรรมและ กล่าวว่าขอใบ้เป็นไปตามพระประสงค์ของพระเจ้า”11

เมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1840 โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธว่า “ผม ไต้รับจดหมายจากไฮรัม ซึ่งทำใบ้ผมดีใจที่ทราบว่าครอบครัวผมมีชีวิตชีวาทุกคน ใจผมอาลัยคนที่ถูกพรากไปจากเราก็จริง แต่ไข่สิ้นหวัง เพราะผมจะไค้้พบพวก เขาอีกครั้งและอยู่กับพวกเขา ค้้วยเหตุนี้ เราจึงก้มหน้ารับสิ่งที่พระผู้เป็นเจ้าทรง ทำใบ้เกิดกับเราไค้้มากขึ้น”12

“เกี่ยวกับการเสียชีวิตในไซอันนั้น เรารู้สึกเป็นทุกข์กับคนที่เป็นทุกข์ แต่จำ ไว้ว่าพระผู้เป็นเจ้าของคนทั้งโลกจะทรงทำในสิ่งที่ถูกที่ควร”13

“มีความตายมากมาย ซึ่งทำใบ้เรารู้สึกหดหู่ แต่เราไม่อาจหลีกเกี่ยงไค้้ เมื่อ พระผู้เป็นเจ้าตรัสจากสวรรค์เพื่อเรียกเราออกจากโลกนี้ เราต้องยอมรับพระ บัญชาของพระองค์”14

ในพิธีศพของเจมส์ อดัมส์ ศาสดากล่าวว่า “ข้าพเจ้าเห็นเขาครั้งแรกที่สปริง ฟิลด์ [อิลลินอยส์] ระหว่างเดินทางจากมิสซู่รีไปวอชิงตัน พอทราบว่าข้าพเจ้า เป็นคนต่างถิ่น เขาก็พาข้าพเจ้าไปที่บ้าน ใบ้กำลังใจ ปลอบใจ และใบ้เงิน ข้าพเจ้า เขาเป็นเพื่อนสนิทที่สูดคนหนึ่งนับแต่นั้น … เขาไต้รับการเปีดเผย เกี่ยวกับความตายของเขาเพื่อไปทำงานที่สำคัญกว่า เมื่อมนุษย์พร้อม เขาจะ อยากไปที่นั่น บราเดอร์อดัมส์ไปเปีดประตูที่เกิดผลใบ้คนตายไค้้เข้ามามากขึ้น วิญญาณของคนเที่ยงธรรมไค้้รับการยกย่องใบ้ทำงานที่ยิ่งใหญ่กว่าและมีเกียรติ มากกว่า ค้้วยเหตุนี้พวกเขาจึงไค้้รับพรในการจากไปสู่โลกแห่งวิญญาณ”15

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • ท่านมีความคิดหรือความรู้สึกอย่างไรบ้างขณะอ่านเรื่องราวใ หน้า 183-186 ประสบการณ์เหล่านี้ส่งผลอย่างไรบ้างต่อวิธีที่ศาสดาโจเซฟสอนเกี่ยวกับ ความตายและการฟันคืนชีวิต

  • บทเรียนบทนี้มีข่าวสารที่โจเซฟ สมิธแบ่งปันให้ผู้ทุกข์โศกเพราะความตาย ของบุคคลอันเป็นที่รัก (หน้า 186-191) ในข่าวสารเหล่านี้ ศาสดาได้ให้ “ความหวังและการปลอบประโลม” โดยสอนหลักคำสอนของพระกิตติคุณ และแสดงให้ผู้ฟ้งเห็นว่าจะนำหลักคำสอนเหล่านี้ไปประยุกตัใช้ในชีวิตพวก เขาอย่างไร ขณะที่ท่านคิดถึงบุคคลกันเป็นที่รักผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วหรืออาจ จะเสียชีวิตในไข่ช้า ความจริงพระกิตติคุณช้อใดที่ปลอบโยนท่าน เหตุใด ความจริงเหล่านี้จึงสำคัญต่อท่าน

  • อ่านคำแนะนำที่โจเซฟ สมิธใบ้เมื่อพูดถึงการเสียชีวิตของเอ็ลเดอร์บาร์นส์ รวมทั้งคำแนะนำของท่านเกี่ยวกับเรื่อง “มีชีวิตอย่างไรและตายอย่างไร” (หน้า 187-188) คำแนะนำของโจเซฟมีความหมายอะไรต่อท่าน คิดลูว่า ชีวิตท่านจะเปลี่ยนไปอย่างไรเมื่อท่านจดจำคำแนะนำนี้

  • อ่านทวนคำพูดของศาสดาถึงบิดามารดาที่ลูกน้อยของพวกเขาเสียชีวิต (หน้า 188-190) หลักคำสอนเหล่านี้ใบ้ความหวังแก่บิดามารดาที่กำลังเศร้า โศกเสียใจได้อย่างไร

  • ศึกษาคำแนะนำของโจเซฟ สบิธเกี่ยวกับการล้มหน้ารับพระประสงค์ของ พระผู้เป็นเจ้าเมื่อบุคคลกันเป็นที่รักเสียชีวิต (หน้า 190-191) การตัดสินใจ ยอมรับพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าส่งผลต่ออารมณ์ของเรา คำพูดของเรา และการกระทำของเราอย่างไร การตัดสินใจของเราจะช่วยผู้อื่นในทางใดบ้าง

ข้อพระคัมภีร์ทื่เกี่ยวข้อง: ยอห์น 20:1–29; โมไซยา 16:7–8; แอลมา 40:11–12; โมโรไน 8:11–20; ค.พ. 42:45–46

อ้างอิง

  1. โจเซฟ สมิธ ซีเนียร์ อ้างใน Lucy Mack Smith, “The History of Lucy Smith, Mother of the Prophet,” 1844–45 manuscript, book 18, p. 5, หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซู คริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท้ เลศซิตี้ ยูทาห์

  2. ใจเซฟ สมิธ ซีเนียร์ พรที่ให้ใจเซฟ สมิธไม่นานก่อนใจเซฟ สมิธ ซีเนียร์ จะเสืยชีวิตเมื่อ 14 ก.ย. 1840 ในนอวู อิลลินอยส์; อ้างใน Lucy Mack Smith, “The History of Lucy Smith, Mother of the Prophet,” 1845 manuscript, p. 298, หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร

  3. History of the Church, 6:302–303, 310–11, 315–16; คำในวงเล็บอยู่ ในต้นฉบับ; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 7 เม.ย. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; ราย งานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ, วิลลาร์ด ริชาร์ดส์, โธบัส บัลล็อค และวิลเลียม เคลย์ตัน; ดู ภาคผนวก หน้า 604 ข้อ 3 ด้วย

  4. History of the Church, 5:361–63; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำ ปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 16 เม.ย. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็ และวิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  5. History of the Church, 4:553–54; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 20 มี.ค. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; ราย งานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟึ

  6. History of the Church, 6:316; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 7 เม.ย. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ์, วิลลาร์ด ริชาร์ดส์, โธบัส บัลล็อค และวิลเลียม เคลย์ตัน; ดู ภาคผนวก หน้า 604 ข้อ 3 ด้วย

  7. History of the Church, 6:366; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 12 พ.ค. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์ ราย งานโดย โธบัส บัลล็อค

  8. Joseph F. Smith, “Status of Children in the Resurrection,” Improvement Era, May 1918, p. 571.

  9. แมรีย์ อิซาเบลลา ฮอร์น อ้างใน History of the Church, 4:556, เชิงอรรถ; จากคำกล่าวของเธอเมื่อวันที่ 19 พ.ย. 1896 ในซอลท้เลคซิตี้ ยูทาห์

  10. History of the Church, 4:587; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 9 เม.ย. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็

  11. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 6 มิ.ย. 1832 กรีนสวิลส์ อินเตีย นา; สมาคมประวัติศาสตร์ชิคาโก ชิคาโก อิลลินอยส์

  12. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 20 ม.ค. 1840 เชสเตอร์เคาน้ตี้ เพนน้ซิลเวเปีย; สมาคมประวิติศาสตร์ ชิคาโก ชิคาโก อิลลินอยส์

  13. History of the Church, 1:341; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงพี่ น้องชายในมิสซู่รี 21 เม.ย. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  14. History of the Church, 4:432; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงสมิธ ทัทเทิล 9 ต.ค. 1841 นอวู อิลลินอยส์

  15. History of the Church, 6:51–52; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 9 ต.ค. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงาน โดยวิลลาร์ด ริซาร์ดส์ และ Times and Seasons, Sept. 15, 1843, p. 331; Times and Seasons ฉบับนี้จัด พิมพ์ล่าช้า

ภาพ
Joseph and Emma with twins

โจเซฟ สมีธกับเอ็มมา สมิธกับลูกแฝดที่รับเป็นบุตรบุญธรรมไปนานหลังจากลูกแฝดของตนเอง ตาย โจเซฟและเอ็มมารับโจเซฟและจูเลียเข้าในครอบครัวด้วยความยินดี แต่โจเซฟน้อยตายในเดือนมีนาคม 1832

ภาพ
mother with daughter

“ ‘บุตรจะอยู่กับมารดาในนิรันดรหรือไม่’ อยู่แน่นอนมารดาทั้งหลาย บุตรของท่านจะอยู่กับท่าน เพราะพวกเขาจะปีชีวิตนิรันดรั เพราะหนี้ของเขาชำระแล้ว”