คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 20 หัวใจเปี่ยมรักและศรัพธา: จดหมายที่ศาลดาเขียนถึงครอบครัว


บทที่ 20

หัวใจเปี่ยมรักและศรัพธา: จดหมายที่ศาลดาเขียนถึงครอบครัว

“จำไว้ว่าผมเป็นเพื่อนแท้และเพื่อนที่ซื่อสัตย์ของคุฌกับลูกๆ ตลอดกาลใจผมผูกพันอยู่กับใจฅุฌตลอดกาลและตลอดไปโอ้ ขอพระผู้เป็นเจ้าทรงคุ้มครองคุฌและลูกๆ ทุกคน”

จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ

การเรียกในฐานะศาสดาทำให้โจเซฟ สมิธต้องเดินทางบ่อยมากตามความ ต้องการขององค์การที่กำลังแผ่ขยายอย่างรวดเร็ว หลังจากทท่านกกำหนดให้เมือง อินดิเพนเดนซ์ รัฐมิสซูรีเป็นสถานที่สร้างไซอันในฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1831 ศาสนาจักรที่นั่นก็เติบโตอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับในเมืองเคิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1831 ถึง ค.ศ. 1838 ศาสนาจักรมีศูนย์รวมประชากรสอง แห่ง แห่งหนึ่งในรัฐมิสซูรี และอีกแห่งในเมืองเคิร์ทแลนด์ที่ศาสดาอาศัยอยู่ ในช่วงนี้ ศาสดาเดินทางต้วยความยากกำบากเป็นระยะทาง 1,448 กิโลเมตรไป มิสซูรีถึงห้าครั้งเพื่อติดตามความก้าวหน้าของศาสนาจักรที่นั่น

คริสต์ศักราช 1833 และอีกครั้งในปีคริสต์ศักราช 1837 ใจเซฟ สมิธไปเยี่ยม แคนาดาตอนบนเพื่อสอนพระกิตติคุณและช่วยให้สาขาต่างๆ เข้มแข็ง ในปี ค.ศ. 1834 และค.ศ. 1835 ท่านเดินทางไปเยี่ยมสมาชิกศาสนาจักรที่รัฐมิชิแกน เป็นเวลาหลายปีที่ท่านสั่งสอนพระกิตติคุณและดำเนินกิจธุระของศาสนาจักรใน เมืองสปริงฟิลด์ รัฐอิลลินอยส์ เมืองบอลตันและเมืองซาเล็ม รัฐแบสซาชูเซทท์ส มอนเมาท์เคาน์ตี้ รัฐนิวเจอร์ซีย์ นิวยอร์กซิตี้และเมืองอัลมานี รัฐนิวยอร์ก เมืองชินชินเนติ รัฐโอไฮโอ เมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนน้ชิลเวเนีย กรุง วอชิงตันดี.ซี. และที่อื่นๆ อีกหลายแห่ง

การเดินทางของศาสดาทำให้ท่านต้องอยู่ไกลน้านและห่างครอบครัวบ่อยครั้ง เช่นเดียวกับการข่มเหงที่ท่านเผชิญหลายครั้งหลายครา ท่านถูกจับคุมและถูกคุมขังอย่างไม่เป็นธรรมหลายคราว ท่านเป็นเหยื่อของการฟ้องร้องที่ไม่มืมูลความ จริงนับสิบๆ ครั้ง ตัวอย่างเช่น วันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1837 ศาสดาและ ผูู้้นำศาสนาจักรอีกหลายท่านออกจากเคิร์ทแลนด์ไปเยี่ยมสิทธิชนในแคนาดา พอไปถึงเมืองเพนสวิลล์ รัฐโอไฮโอ พวกท่าน “ถูกคุมตัวตลอดทั้งวันเพราะกา รฟ้องร้องที่มีเจตนาร้ายและไข่มีมูล” เนื่องด้วยอยู่ไม่ไกลจากเมืองเคิร์ทแลนด์ พวกท่านจึงกลับไปพักผ่อนที่บ้านและเริ่มเดินทางอีกครั้งในวันรุ่งขึ้น “ดวง อาทิตย์กำลังตกดินตอนข้าพเจ้าขึ้นรถบ้ากลับบ้านที่เคิร์ทแลนด์” ศาสดาเขียน “นาทีนั้นเองที่นายอำเภอกระโดดขึ้นรถบ้า ยึดเชือกบังเหียนของข้าพเจ้า และ แจ้งข้อกล่าวหาข้าพเจ้าอีกหนึ่งกระทง”1

การที่ศาสดาไบ่อยู่บ้านหลายครั้งถือว่าเป็นการทดลองหนักสำหรับท่านและ ครอบครัว จดหมายที่ท่านเขียนถึงเอ็มมาเผยใบ้ทราบถึงความอ้างจ้างโดดเดี่ยวที่ ท่านประสบและความคิดถึงเธอลับลูกๆ ท่านเขียนบอกเสมอถึงความรักมาก มายที่มื่ต่อครอบครัวและศรัทธาของท่านในพระผู้เป็นเจ้า ท่านใบ้กำลังใจครอบกรัวด้วยโดยบอกพวกเขาใบ้มองอนาคตในแง่ดีแบ้ด้องเผชิญความยากสำบาก

วันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1832 ศาสดาออกจากบ้านเดินทางไปรัฐมิสซูรีเป็น ครั้งที่สอง เพียงหนึ่งสัปดาห์หลังจากถูกคนร้ายเอายางมะดอยและขนนกทาตัว และเพียงสองวันหลังจากบุตรบุญธรรมของท่านเสียชีวิต แน่นอนว่าใจท่านหนัก อึ้งด้วยความเศร้าโศกและความห่วงใยเอ็มมาภรรยาลับจูเสียบุตรคนเดียวที่ยังมื ชีวิตอยู่ ระหว่างกลับบ้านในเดือนลัดมา ท่านร้อนใจอยากกลับมาหากรอบครัว แต่ก็ถูกคุมตัวอยู่หลายสัปดาห์ในเมืองกรีนวิลล์ รัฐอินเดียนา อธิการนิวเวล เก. วิทนีย์ เพื่อนร่วมทางคนหนึ่งของศาสดาได้รับบาดเจ็บสาหัสที่ขาในอุบัติเหตุจาก รถบ้าสาธารณะและด้องพักรักษาตัวก่อนจึงจะเดินทางได้ ระหว่างนี้ ศาสดาถูก พิษบางอย่างท่าใบ้ท่านอาเจียนอย่างรุนแรงจนขากรรไกรเคลื่อน ท่านเดินทางไป ขอพรฐานะปุโรหิตจากอธิการวิทนีย์ซึ่งยังลุกจากเตียงไบ่ได้ ศาสดาหายป่วยทันที

ไบ่นานหลังจากประสบการณ์นี้ ศาสดาเขียนบอกภรรยาว่า “บราเดอร์มาร์ดิน [แฮร์ริส] ไปถึงที่นั่นและแจ้งข่าวอันน่าพอใจว่าครอบครัวของเราสบายดีตอนที่ เขาออกเดินทาง ข่าวนั้นทำใบ้ใจเราเบิกบานเป็นอย่างยิ่งและวิญญาณของเราสด ชื่นขึ้น เราขอบพระทัยพระบิดาบนสวรรค์สำหรับพระกรุณาธิคุณที่ทรงมืต่อเรา รวมทั้งคุณลับลูกๆ ทุกคน … สถานการณ์ของผมไบ่ค่อยดีนัก แบ้ผมจะพยายามทำใจแอ้วก็ตาม พระเจ้าทรงกำลังช่วยผม … ผมอยากเห็นหบ้าจูเสียลูกบ้อยของเรา อุ้มเธอนั่งตัก และพูดคุยลับคุณอีกครั้ง … ผมเป็นสามืที่ซี่อสัตย์ ต่อคุณเสมอ ขอพระเจ้าอวยพรคุณ สันติสุขจงอยู่กับคุณ ลาก่อนจนกว่าผมจะ กลับ”2

คำลโอนฃองโจเซฟ สมิธ

สมาชิกครอบครัวสวดอ้อนวอน ปลอบโยน และให้กำลังใจกัน

ถึงเอ็นมาสมิธ วันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1832 จากนิวยอร์กซิตี้ รัฐนิวยอร์ก: “วันนี้ผมเดินผ่านย่านที่สวยที่สุดของนครนิวยอร์ก ตึกรามบ้านช่องใหญ่โตและ สวยงามมากจนทำใบ้ทุกคนที่เห็นถึงกับตะลึงงัน … หลังจากมองดูทุกอย่างที่ ผมอยากดูแล้ว ผมกลับบ้องมาคิดใคร่ครวญและสงบจิตสงบใจ และดูเอาเถิด ความคิดถึงบ้าน คิดถึงเอ็มมาและจูเลีย ประดังเข้ามาในใจผมเหมือนนํ้าท่วม และผมปรารถนาจะอยู่กับพวกเขาลักประเดี๋ยว ความรู้สึกและความอ่อนโยน ฉันบิดาและสามีสุมอกผม และล้าผมไล้อยู่กับคุณ ผมคงจะเล่าหลายเรื่องใบ้คุณ ฟัง…

“ผมรู้สึกประหนึ่งว่าอยากจะพูดอะไรบางอย่างกับคุณเพื่อปลอบโยนคุณใน การทดลองและความทุกข์ทรมานที่คุณมีอยู่ [ช่วงนั้นเอ็มมากำลังตั้งครรภ์] ผม หวังว่าพระผู้เป็นเจ้าจะประทานความเข้มแข็งใบ้คุณเพื่อคุณจะไบ่อ่อนกำลัง ผม สวดล้อนวอนขอพระผู้เป็นเจ้าทรงทำใบ้จิตใจของคนรอบตัวคุณอ่อนลงเพื่อพวก เขาจะเมตตาคุณและเอาภาระออกจากบ่าคุณใทัมากที่สุดและไบ่ทำใบ้คุณทุกข์ ทรมาน ผมเป็นห่วงคุณ เพราะผมรู้ถึงสภาพของคุณขณะที่คนอื่นไบ่รู้ แต่คุณ ล้องปลอบใจตนเองโดยรู้ว่าพระผู้เป็นเจ้าคือเพื่อนของคุณในสวรรค์และคุณมี เพื่อนแบ้คนหนึ่งที่ยังมีชีวิตบนแผ่นดินโลก สามีคุณ”3

ถึงเอ็มมา สมิธ วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1838 จากเมืองริชมอนด์ รัฐ มิสซูรีที่ท่านตกเป็นนักโทม: “ผมไล้รับจดหมายของคุณแล้ว ซึ่งผมอ่านทวน หลายรอบ มันมีค่าต่อผมมาก โล้ พระผู้เป็นเจ้า โปรดทรงอนุญาตใบ้ข้าพระองค์มีโอกาสพบหบ้าครอบครัวที่น่ารักลักครั้งและมีความสุขเต็มที่กับเสรีภาพ และชีวิตทางสังคม การไล้กอดพวกเขาไล้แนบอกและหอมแล้มพวกเขาคงจะ ทำใบ้ใจผมเต็มไปด้วยความกดัญญจนสุดจะพรรณนาได้ บอกลูกๆ ว่าผมยังมี ชีวิตอยู่และมั่นใจว่าผมจะไล้พบพวกเขาอีกในไม่ข้า ปลอบใจพวกเขาเท่าที่คุณ จะทำได้ และพยายามทำใจให้สบายที่สุดเท่าที่คุณจะทำได้ …

“ป.ล. เขียนถึงผมใบ้บ่อยที่สุดเท่าที่คุณจะทำได้ และก้าเป็นไปได้ผมอยาก ให้คุณมาเยี่ยมผม พาลูกๆ มาด้วย กระทำตามความรู้สึกและวิจารณญาณอันดี ที่สุดของคุณ และพยายามทำใจให้สบาย ถ้าเป็นไปได้ ผมวางใจว่าทุกอย่างจะ ออกมาดีที่สุด”4

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1839 จากคุกในลิเบอร์ตี้ รัฐมิสชูรี: “เอ็มมาที่รักของผม ผมคิดถึงคุณและลูกๆ ตลอดเวลา … ผมอยากเห็นหห้า เฟรเดอริคน้อย ใจเซฟ จูเลีย และอเล็กซานเดอร์ โจฮันนา [เด็กกำพร้าที่อยู่กับ ครอบครัวสมิธ] และเจ้าเฒ่าเมเยอร์ [สุนัขของครอบครัว] ส่วนคุณ ห้าอยากรู้ ว่าผมอยากพบคุณมากแก่ไหน ลองสำรวจความรู้สึกของคุณดูสิ แห้วคุณจะรู้ว่า ผมอยากพบคุณเพียงใด และตัดสินใจเอาเอง ผมยินดีเดินเห้าเปล่า ไบ่สวม หมวก และไบ่สวมเสื้อไปหาคุณ และคิดว่านั่นคงจะทำให้ผมพอใจอย่างยิ่ง และ ไบ่คิดว่าเป็นความลำบากแต่อย่างใด … ผมทนรับการกดขี่ทุกอย่างด้วยความ ทรหด คนที่อยู่กับผมก็อดทนเช่นกัน ยังไบ่มีใครเสียขวัญ”5

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1839 จากคุกในลิเบอร์ตี้ รัฐมิสชูรี: “เอ็มมาที่รักของผม ผมคิดถึงคุณและลูกๆ ตลอดเวลา … ผมอยากเห็นหห้า เฟรเดอริคนัอย ใจเซฟ จูเลีย และอเล็กซานเดอร์ โจฮันนา [เด็กกำพร้าที่อยู่กับ ครอบครัวสมิธ] และเจ้าเฒ่าเมเยอร์ [สุนัขของครอบครัว] ส่วนคุณ ห้าอยากรู้ ว่าผมอยากพบคุณมากแก่ไหน ลองสำรวจความรู้สึกของคุณดูสิ แห้วคุณจะรู้ว่า ผมอยากพบคุณเพียงใด และตัดสินใจเอาเอง ผมยินดีเดินเห้าเปล่า ไบ่สวม หมวก และไบ่สวมเสื้อไปหาคุณ และคิดว่านั่นคงจะทำให้ผมพอใจอย่างยิ่ง และ ไบ่คิดว่าเป็นความลำบากแต่อย่างใด … ผมทนรับการกดขี่ทุกอย่างด้วยความ ทรหด คนที่อยู่กับผมก็อดทนเช่นกัน ยังไบ่มีใครเสียขวัญ”5

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1840 จากเชสเตอร์เคาน์ตี้ รัฐเพนน์ซิลเวเนีย: “ผมร้อนใจมากอยากพบพวกคุณอีกครั้งในโลกนี้ ดูเหมือนจะนาน มากแห้วที่ผมถูกตัดขาดจากคุณ แต่พระเจ้าทรงเป็นผู้ช่วยผม ผมคงไบ่ห่างจาก คุณนานกว่านี้ … ผมมีความวิตกกังวลตลอดเวลาและจะเป็นอยู่อย่างนั้นจน กว่าจะได้กลับห้าน ผมสวดอ้อนวอนพระผู้เป็นเจ้าขอให้ทรงไว้ชีวิตคุณและลูกๆ จนกว่าผมจะกลับป้ัาน เอ็มมาที่รักของผม ใจผมผูกพันอยู่ลับใจคุณและลูกห้อย ของเรา ผมอยากให้คุณคิดถึงผม บอกลูกๆ ว่าผมรักพวกเขาและจะกลับห้าน ทันทีที่ทำได้ สายใยแห่งความรักผูกพันอยู่ลับคุณเสมอ สามีคุณ”6

ความรับผิดชอบในการสอนลูกๆ ของเราอยู่กับเราตลอดเวลา

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1838 จากเมืองริชมอนด์ รัฐ มิสซูรีที่ท่านตกเป็นนักโทษ: “บอกลูกใจเซฟว่าเขาด้องเป็นเด็กดี พ่อรักเขาเต็มเปี่ยม เขาเป็นพี่คนโต ต้องไม่รังแกน้อง แต่ต้องคอยปลอบโยนห้องๆ ทุกคน บอกลูกเฟรเดอริคว่าพ่อรักเขาสุดหัวใจ เขาเป็นเด็กน่ารัก จูเลียเป็นเด็ก ห้อยที่น่ารัก ผมรักเธอเช่นลัน เธอเป็นเด็กที่มีอนาคตไกล บอกเธอว่าพ่อด้อง การให้เธอคิดถึงพ่อและเป็นเด็กดี บอกลูกคนอื่นๆ ว่าผมคิดถึงพวกเขา และสวด ห้อนวอนให้ทุกคน…ผมคิดถึงเจ้าหนูอเล็กซานเดอร์ตลอดเวลา โอ้ เอ็มมา ที่รักของผม ผมอยากให้คุณจำไว้ว่าผมเป็นเพื่อนแห้และเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อคุณ และลูกๆ ตลอดกาล ใจผมผูกพันอยู่กับใจคุณตลอดกาลและตลอดไป โอ้ ขอ พระผู้เป็นเจ้าทรงคุ้มครองคุณและลูกๆ ทุกคน อาเมน ผมเป็นสามีคุณ ผมติด อยู่ในโซ่ตรวนและความยากลำบาก”7

ถึงเอ็นนา สนิธ วันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1839 จากคุกในลิเบอร์ตี้ รัฐมิสชูรี: “ผมไบ่ต้องการให้คุณปล่อยให้ลูกๆ ลืมผม บอกพวกเขาว่าฟ่อรักพวกเขาเต็ม เปี่ยม และกำลังทำทุกวิถีทางเพื่อหมีจากคนร้ายแล้วกลับมาหาพวกเขา ขอให้ คุณสอน [ลูกๆ] จนสุดความสามารถเพื่อพวกเขาจะมีจิตใจดีงาม จงอ่อนโยน และเมตตาพวกเขา อย่าฉุนเฉียวใส่พวกเขา แต่ฟ้งความต้องการของพวกเขา บอกพวกเขาว่าฟ่อบอกให้เป็นเด็กดีและเชื่อฟ้งแบ่ เอ็มมาที่รักของผม มีความ รับผิดชอบใหญ่หลวงอยู่กับคุณที่คุณจะดำรงตนให้น่าเคารพนับถือและมีความ สุขุมเยือกเย็นต่อหน้าพวกเขาและสอนสิ่งที่ถูกต้องให้พวกเขา หล่อหลอมความ คิดที่อ่อนเยาว์และอ่อนโยนของพวกเขาเพื่อพวกเขาจะเริ่มต้นในเส้นทางที่ถูก ต้องและไบ่แปดเปื้อนเมื่ออายุยังน้อยเพราะเห็นแบบอย่างของคนอาธรรม์”8

ถึงเอ็นนา สนิธ วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1839 จากเนืองสปริงพิเลค์ รัฐ อิลลินอยส์: “ผมคงจะเป็นห่วงคุณกับลูกๆ อยู่อย่างนี้จนกว่าผมจะไต้รับข่าว คราวจากคุณและโดยเฉพาะเฟรเดอริคน้อย ผมเจ็บปวดมากที่ปล่อยให้เขาป่วย ผมหวังว่าคุณจะดูแลกุลบุตรกุลธิดาที่อ่อนโยนเหล่านี้ให้สมกับเป็นมารดาและ สิทธิชน และพยายามปลูกฟังความคิดและ [สอน] ให้พวกเขารักการอ่านและ มีความสุขุมเยือกเย็น อย่าปล่อยให้พวกเขาถูกอากาศเย็นจนเป็นหวัด และคุณ เองก็พยายามพักผ่อนให้มากที่สุด ช่วงที่ผมไบ่อยู่จะเป็นเวลาที่ยาวนานและ เงียบเหงา…จงอดทนจนกว่าผมจะมา และทำสุดความสามารถ ผมเขียนอย่าง ที่ผมอยากเขียนไบ่ไต้แต่ขอให้เชื่อผม ผมมีความรู้สึกดีที่สุดต่อคุณและลูกๆ ทุกคน”9

พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นเพื่อนของเราและเราวางใจพระองค์ได้ไนยามทุกข์ยาก

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1832 จากเนืองกรีนวิลส์ รัฐอินเดียนา: “ผมไปเที่ยวป่าเล็กๆ แถบชานเมืองเกือบทุกวันเพื่อจะไต้อยู่ในที่ลับตา คนและระบายความรู้สึกในใจผมขณะใคร่ครวญและสวดอ้อนวอน ผมนึกถึงช่วง เวลาในอดีตทั้งหมดของชีวิตผม ปล่อยให้ตนเองเศร้าโศกและหลั่งนี้าตาแห่ง ความเสียใจให้กับความโง่ของตนเองที่ยอมให้ปรปักษ์ของจิตวิญญาณมีอำนาจ เหนือผมเท่ากับที่เขาเคยมีในอดีต แต่พระผู้เป็นเจ้าทรงเมตตาและให้อภัยบาป ของผม และผมปลาบปลื้มยินดีที่พระองค์ทรงส่งพระผู้ปลอบโยนมาให้คนมาก มายที่เชื่อและถ่อมตนต่อพระพักตร์พระองค์ …

“ผมจะพยายามทำใจรับชะตากรรมของผม โดยรู้ว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงเป็น เพื่อนของผม ในพระองค์ผมจะพบการปลอบโยน ผมมอบชีวิตไว้ในพระหัตถ์ ของพระองค์ ผมพร้อมจะไปตามการเรียกของพระองค์ ผมปรารถนาจะอยู่กับ พระคริสต์ ผมถือว่าชีวิตผมไบ่มีค่า [ถ้าไม่]ทำตามพระประสงค์ของพระองค์”10

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 4 มิถุนพน ค.ศ. 1834 จากริมฟั่่งแปนํ้ามิสซิสซิปปี ในอิลลินอยส์ตะวันตก ศาสดาโจเซฟกำลังเดินทางไปกับค่ายไซอัน: “บ่อยครั้ง ที่ความคิดเรานักอ้อยอิ่งอยู่กับความกระวนกระวายอย่างบอกไม่ถูกเพราะห่วง ภรรยากับลูกๆ ของเรา—สายเลือดของเราตามทางแห่งเนื้อหนังผูกพันอยู่กับใจ เรา—พี่น้องและมิตรสหายของเราด้วย … บอกคุณพ่อสมิธกับทุกคนใน ครอบครัว และพื่ออลิเวอร์ [คาวเดอรี] ว่าจงทำใจให้สบายและเผัารอวันที่การ ทดลองและความยากลำบากของชีวิตนื้จะสิ้นสุด และเราทุกคน [จะ] ได้รับผล จากการทำงานของเราหากเราซื่อสัตย์จนถึงที่สุด ซึ่งผมสวดอ้อนวอนขอให้เรา ทุกคนโชคดีมีสุข”11

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1838 จากเมืองอินดิเพนเดนซ์ รัฐมิสซูรีที่ท่านตกเป็นนักโทน: “คู่ชีวิตที่รักและรู้ใจผมในความยากลำบากและ ความทุกข์ทรมาน ผมอยากบอกคุณว่าผมสบายดีและเราต่างก็เข้าใจดีเกี่ยวกับ ชะตากรรมของเรา … ผมเป็นห่วงคุณกับลูกๆ ที่รักของผมมาก ใจผมโศกเศร้าและโทมนัสแทนพี่น้องชายหญิงของผมและเพราะการสังหารผู้คนของพระ ผู้เป็นเจ้า … พระผู้เป็นเจ้าจะทรงทำอะไรเพื่อเราผมไบ่ทราบ แต่ผมหวังว่าจะดี ที่สุดเสมอในสถานการณ์ทุกอย่าง แห้ผมจะไปสู่ความตาย ผมก็จะวางใจพระผู้เป็นเจ้า คนร้ายจะกระทำการเหี้ยมโหดเพียงใดผมไบ่ทราบ แต่หวังว่าจะยั้งมือ บ้าง โอ้ ขอพระผู้เป็นเจ้าทรงมีเมตตาต่อเรา … พระผู้เป็นเจ้าทรงไว้ชีวิตพวก เราบางคนมาจนถึงบัดนี้ บางทีพระองค์อาจจะทรงเผื่อแผ่ความเมตตามาถึงเรา บ้าง…

“ผมเรียนรู้ได้ไบ่มากนักในสถานการณ์ที่ผมเป็นอยู่ และผมได้แต่สวดอ้อนวอนขอการปลดปล่อยจนกว่าจะได้รับและยอมรับทุกอย่างที่เกิดขึ้นด้วยความ ทรหดอดทน ผมหวังว่าคุณจะซื่อสัตย์และแน่วแน่ต่อความไว้วางใจทั้งหมด สถานการณ์ของผมตอนนี้ทำให้ผมเขียนอะไรมากไบ่ได้ ได้โปรดดำเนินการใน เรื่องสำคัญทั้งหมดตามสภาวการณ์และความจำเป็นของคุณ ขอพระผู้เป็นเจ้า ประทานสติปัญญาและความสุขุมรอบคอบให้คุณ ซึ่งผมมีเหตุผลทุกอย่างให้เชื่อ ว่าคุณจะ [มี]

“ลูกน้อยของเราอยู่ในห้วงคำนึงของผมตลอดเวลา บอกพวกเขาว่าพ่อยังมี ชีวิตอยู่ พระผู้เป็นเจ้าจะทรงอนุญาตให้พ่อมาพบพวกเขาอีก โอ้ เอ็มมา … อย่าทอดทิ้งผมหรือความจริง แต่จงคิดถึงผม ถ้าผมไบ่ได้พบคุณอีกในชีวิตนี้ ขอ พระผู้เป็นเว้าทรงอนุญาตให้เราได้พบกันในสวรรค์ ผมไบ่สามารถแสดงกวามรู้สึกของผมได้เพราะจิตใจผมเต็มตื้นไปหมด ลาก่อน โอ้เอ็มมาที่รักและแสนดี ของผม ผมเป็นของคุณตลอดกาล สามีและเพื่อนแห้ของคุณ”12

ถึงเอ็นนา สนิธ วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1839 จากคุกในลิเบอร์ตี้ รัฐมิสชูรี: “เอ็นมาที่รักของผม ผมทราบดีถึงความลำบากของคุณและเห็นใจคุณ ถ้าพระผู้เป็นเจ้าจะทรงไว้ชีวิตผมสักครั้งเพื่อให้มีโอกาสดูแลคุณ ผมจะทำให้คุณคลาย กังวลและพยายามปลอบใจคุณ ผมด้องการให้คุณดูแลครอบครัวให้ดีที่สุดเท่าที่ จะทำได้ ผมเชื่อว่าคุณจะทำสุดความสามารถ ผมเสียใจที่ทราบว่าเฟรเดอริคป่วย แต่ผมวางใจว่าเขาจะหายดีอีกครั้งและทุกคนจะสบายดี ผมอยากให้คุณพยายาม หาเวลาเขียนจดหมายมาถึงผมยาวหน่อยและบอกผมเท่าำำที่คุณจะทำได้ บอกแม้ กระทั่งว่าเจ้าเฒ่าเมเยอร์ยังมีชีวิตอยู่หรือเปล่า และลูกๆ ที่ซบไหล่คุณพูดอะไร ห้าง…บอกพวกเขาว่าผมอยู่ในคุกเพื่อให้ชีวิตพวกเขาอยู่รอด …

“พระผู้เป็นเจ้าทรงปกครองทุกสิ่งตามความมุ่งหมายแห่งพระประสงค์ของ พระองค์ ความวางใจของผมอยู่ในพระองค์ ความรอดของจิตวิญญาณผมมีความ สำคัญต่อผมมากที่สุดเพราะผมรู้แน่นอนถึงสิ่งอันเป็นนิรันดร ห้าสวรรค์อ้อยอิ่ง นั่นไบ่เกี่ยวกับผม ผมด้องคุมหางเสือให้ [เรือ] ของผมปลอดภัย ซึ่งผมตั้งใจ จะทำเช่นนั้น ผมด้องการให้คุณทำเช่นเดียวกัน เป็นของคุณตลอดกาล”13

ถึงเอ็นนา สมิธ วันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1842 ใกล้เมืองนอวู รัฐอิลลินอยส์ ศาสดาโจเซฟกำลังซ่อนตัวจากศัตรู: “ผมขอถือโอกาสนี้แสดงความขอบคุณด้วยความจริงใจสำหรับการเยี่ยมเยียนที่น่าสนใจและปลอบประโลมผมถึงสอง ครั้งระหว่างที่ผมถูกเนรเทศ ภาษาใดก็ไบ่อาจบรรยายได้ถึงความซาบซึ้งจากใจ ผมสำหรับมิตรภาพที่อบอุ่นและจริงใจของคุณ เวลาผ่านไป ตั้งแต่ผมยอมจาก คุณมาจนถึงบัดนี้ จิตใจผมยอมรับชะตากรรมโดยสิ้นเชิง อะไรจะเป็นไปก็ขอให้ เป็นใปเถิด …

“บอกลูกๆ ว่าฟ่อของพวกเขาสบายดี และยังคงสวดอ้อนวอนด้วยความ จริงใจต่อพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงมหิทธิฤทธิ้เพื่อความปลอดภัยของตัวเขา ของคุณ และของพวกเขา บอกคุณแม่สมิธว่าลูกชายท่านสุขสบายดี ทั้งในชีวิตหรือใน ความตาย เพราะพระเจ้าพระผู้เป็นเจ้าตรัสตังนั้น บอกท่านว่าผมคิดถึงท่านทุก ขณะจิต คิดถึงลูซี [บ้องสาวของโจเซฟ] และทุกคนด้วย พวกเขาจะด้องมี ความหวัง … เห็นอกเห็นใจคุณที่สุด สามีที่รักคุณตราบวันตาย ชั่วนิจนิรันดร์ ตลอดกาลนาน”14

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หห้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนบทนี้คร่าวๆ โดยสังเกตความรู้สึกที่โจเซฟ สนิธมีต่อเก็บมาและลูกๆ แบบอย่างของโจเซฟสอนอะไรเราเกี่ยวกับวิธีที่เราควรพูดและปฏิบัติใน ครอบครัวเรา เราเรียนรู้อะไรบ้างจากการที่โจเซฟและเอ็มมา สมิธพยายาม เขียนจดหมายถึงกันและพบหบ้ากัน ท่านได้ทำอะไรบ้างเพื่อแสดงใบ้สมาชิก ครอบครัวเห็นว่าท่านรักพวกเขา

  • ศาสดาโจเซฟบอกเอ็มมาว่าท่านเป็น “เพื่อนแบ้และเพื่อนที่ซื่อสัตย์ต่อ [เธอ] และลูกๆ ตลอดกาล” และขอบคุณเธอสำหรับ “มิตรภาพที่อบอุ่น และจริงใจ” (หบ้า 260, 264) สามีภรรยาำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำำทำอะไรได้บ้างเพื่อหล่อเลี้ยงมิตรภาพของพวกเขา

  • ในจดหมายของโจเซฟ สมิธ ท่านแสดงความวางใจเอ็มมา โดยเชื่อมั่นว่า เธอจะตัดสินใจได้ดีและำทำำสุดความสามารถเพื่อดูแลครอบครัว (หบ้า 263) คำพูดแสดงกวามไว้วางใจเช่นนั้นล่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา อย่างไร

  • อ่านข่าวสารของศาสดาโจเซฟถึงลูกๆ ในย่อหบ้าที่สามหบ้า 264 ข่าวสาร ตังกล่าวช่วยใบ้ลูกๆ ของโจเซฟยอมรับข่าวนี้อย่างไร ในช่วงเวลาของการทด ลอง บิดามารดทำอะไรได้บ้างเพื่อแสดงใบ้บุตรธิดาเห็นว่าพวกเขามีศรัทธา ในพระผู้เป็นเจ้า

  • อ่านทวนด้อยคำแสดงกวามวางใจในพระผู้เป็นเจ้าของโจเซฟ สมิธ หบ้า 261-264 ระบุด้อยคำที่สัมผัสใจท่านเป็นพิเศษ ท่านจะนำความจริงเหล่านี้ มาประยุกตัใช้ในชีวิตท่านได้อย่างไร

ข้อพระคัมภีร์ที่เกี่ยวจ้อง: ปฐมกาล 2:24; 1โครินธ์ 11:11; เอเฟซัส 5:25; โมไซยา 4:14–15; ค.พ. 9, 14; 68:25–28

อ้างอิง

  1. History of the Church, 2:502; เปลี่ยนตัวสะกดให้ทันสมัย; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book B-1, p. 767 และ addenda, p. 6 หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิ ชนยุคสุดท้าย ซอลท์เลคซิตี้ ยูทาห์

  2. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 6 มิ.ย. 1832 กรีนวิลล์ อินเดียนา; Chicago Historical Society ชิคาโก อิลลินอยส์

  3. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 13 ต.ค. 1832 นิวยอร์กซิตี้ นิวยอร์ก; หอจดหมายเหตุชุมชนของพระคริสต์ อินดิเพนเดนซ์ มิสซูรี

  4. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 12 พ.ย. 1838 ริชมอนด์ มิสซู่รี; หอจดหมายเหตุชุมชนของพระคริสต์ อินดิเพนเดนซ์ มิสซู่รี

  5. จดหมายที่โจเซฟ สมีธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 4 เม.ย. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มิสซู่รี; หอสมุด Beinecke มหาวิทยาลัยเยล นิวฮาเวน คอนณคติ กัท; สำเนาอยู่ในหอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร ชื่อเต็มของโจฮันนาคือใจฮันนา คาร์เตอร์ เธอเป็นบุตรสาวกำพร้า ของจอห์น เอส. และเอลิซาเมธ เคนยอน คาร์เตอร์

  6. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 20 ม.ค. 1840 เชสเตอร์เคาน์ตี้ เพนน์ซิลเวเนีย; Chicago Historical Society ชิคาโก อิลลินอยส์

  7. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 12 พ.ย. 1838 ริชมอนต์ มิสซู่รี; หอจดหมายเหตุชุมชนของพระคริสต์ อินดิเพนเดนซ์ มิสซู่รี

  8. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 4 เม.ย. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มิสซู่รี; หอสมุด Beinecke มหาวิทยาลัยเยล นิวฮาเวน คอนณคติ กัท; สำเนาอยู่ในหอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

  9. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 9 พ.ย. 1839 สปริงฟิลต์ อิลลินอยส์; หอจดหมายเหตุชุมชนของพระ คริสต์ อินติเพนเดนซ์ มิสซู่รี; สำเนา อยู่ในหอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  10. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 6 มิ.ย. 1832 กรีนวิลส์ อินเตียนา; Chicago Historical Society ชิคาโก อิลลินอยส์

  11. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 4 มิ.ย. 1834 จากริมฝั่งแม่นํ้า มิสซิสซิปปีในอิลลินอยส์ตะวันตก; Letter Book 2, 1837-43, p. 58, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  12. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 4 พ.ย. 1838 อินดิเพนเดนซ์ มิสซูรี; หอจดหมายเหตุชุมชนของพระ คริสต์ อินติเพนเดนซ์ มิสซูรี; สำเนา อยู่ในหอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  13. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 21 มี.ค. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มิสซูรี; Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  14. History of the Church, 5:103, 105; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเอ็มมา สมิธ 16 ส.ค. 1842 ใกล้นอวู อิลลินอยส์

ภาพ
Joseph’s family at Liberty Jail

ความรับผิดชอบมากมายของศาสดาและการข่มเหงที่ท่านเผชิญ ทำให้ทำนต้องจากครอบครัวปอยครั้ง ขฌะที่ท่านกับไฮรัมพี่ชายถกคุมขังในคุกลิเบอรัตี้ เอมมาภรรยาของศาสดากับโจเซฟบุตรชายมาเยี่ยมท่าน

ภาพ
letter from Joseph to Emma

ส่วนหนึ่งของจดหมาบที่ศาสดาโจเซฟ สนิธเขียนถึงเอมมา สมีรจากคุกลิเบอร์ตื้ วันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1839