คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 3: พระเยซูคริสต์ องค์พระผู้ไถ่ฃองโลก


บทที่ 3

พระเยซูคริสต์ องค์พระผู้ไถ่ฃองโลก

“ความรอดจะมาถึงโลกไม่ได้หากปราศจาก การไกล่เกลี่ยของพระเยซูคริสต์”

จากชีวิตฃองโจเซฟ ลมิธ

หลายปีก่อนโจเซฟ สมิธเกิด คุณปู่ของท่านรู้สึกถึงการดลใจว่าจะมีบางอย่าง เกิดขึ้นในครอบครัวซึ่ง “จะเปลี่ยนแปลงโลกโดยสิ้นเชิง”1 ประวัติของโจเซฟ สมิธบันทึกว่า “อาซาเอล สมิธคุณปู่ของข้าพเจ้าทำนายไว้นานมาแล้ว ว่าจะมี ศาสดาผู้หนึ่งได้รับการเลี้ยงดูในครอบครัวท่าน และคุณย่าพอใจเป็นอย่างยิ่งที่คำ ทำนายดังกล่าวสับฤทธิ์ผลในตัวข้าพเจ้า อาซาเอลคุณปู่ของข้าพเจ้าเสียชีวิต ในสต็อคโฮล์มตะวันออก เซนต์ลอว์เรนซ์เคาน์ตี้ รัฐนิวยอร์กหลังจากได้รับพระคัมภีร์มอรมอน และอ่านเกือบจบ ท่านประกาศว่าข้าพเจ้าคือศาสดาคนที่ท่านรู้ มานานแล้วว่าจะมาในครอบครัวท่าน”2

ในฐานะศาสดาแห่งการฟื้นฟู บทบาทสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของโจเซฟ สมิธ คือเป็นพยานถึงพระเยซูคริสต์ ท่านได้รับพรให้มีความรู้ส่วนตัวถึงความเป็น พระเจ้าของพระเยซูคริสต์ และเข้าใจบทบาทของพระองค์ ในฐานะพระผู้ไก่ ของโลก ความรู้นี้เริ่มจากภาพปรากฎครั้งแรก ซึ่งเด็กหนุ่มไจเซฟเห็นพระบิดา บนสวรรค์และพระเยซูคริสต์ และได้ยินพระบิดาทรงประกาศว่า “นี่คือบุตรที่รัก ของเรา จงฟ้งท่าน!” (โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:17) จากประสบการณ์ที่ศักดิ์สิทธิ์นี้โจเซฟได้รับสิทธิพิเศษให้รับคำแนะนำสั่งสอนจากพระผู้ช่วยให้รอดของ โลก

เกือบสิบสองปีต่อมา วันที่ 16 คุมภาพันธ์ ค.ศ. 1832 ศาสดากำลังแปลพระคัมภีร์ไบเบิล โดยมีซิดนีย์ ริกตันเป็นผู้จด ในห้านของจอห์น จอห์นสันที่เมือง ไฮรัม รัฐโอไฮโอ หลังจากศาสดาแปลยอห์น 5:29 ซึ่งพูดถึงการฟึ้นคืนชีวิตของ คนดีและคนชั่ว ภาพปรากฎเปีดต่อโจเซฟและซิดนีย์ พวกท่านเห็นและสนทนา กับพระผู้ช่วยให้รอดดังนี้

“โดยอำนาจพระวิญญาณ ตาของเราถูกเปีดและความเข้าใจของเราถูกทำให้สว่าง เพื่อจะเห็นและเข้าใจเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า—แห้เรื่องเหล่านั้นซึ่งเป็นมา ตั้งแต่การเริ่มต้นก่อนที่โลกเป็นมา ซึ่งไต้รับแต่งตั้งจากพระบิดาโดยทางพระบุตร องค์เดียวที่ถือกำเนิดของพระองค์ ผู้ประทับอยู่ในอุระของพระบิดา แม้ตั้งแต่การเริ่มด้น ผู้ที่พวกเราเป็นพยานถึงและบันทึกซึ่งเรามีคือความสมบูรณ์ของกิตติคุณ ของพระเยซูคริสต์ ผู้คือพระบุตรผู้ที่เราเห็น และผู้ที่เราพูดด้วยในภาพจาก สวรรค์ที่มาให้เห็น…

“และเราเห็นรัศมีภาพของพระบุตรทางขวาพระหัตถ์ของพระบิดาและได้รับ จากความบริบูรณ์ของพระองค์ และเห็นเทพผู้บริสุทธี้และผู้ที่ได้รับการชำระให้ บริลุทธิ์อยู่หห้าพระที่นั่งกำลังนมัสการพระผู้เป็นเจ้าและลูกแกะผู้ที่นบัสการ พระองค์ตลอดกาลและตลอดไป

“และบัดนี้ หลังจากประจักษ์พยานหลายประการซึ่งให้ไว้ถึงพระองค์ นี่คือ ประจักษ์พยานสุดท้ายของทั้งหมดซึ่งเราให้ไว้ถึงพระองค์: ว่าพระองค์ทรงพระชนม์อยู่!

“เพราะเราเห็นพระองค์แม้ทางขวาพระหัตถ์ของพระผู้เป็นเจ้า และเราได้ยิน เสียงเป็นพยานว่าพระองค์เป็นองค์เดียวที่ถึอกำเนิดของพระบิดา—ว่าโดยพระองค์ และโดยทางพระองค์ และจากพระองค์โลกนั้นๆ เป็นมาและถูกสร้างขึ้น มาแล้ว และผู้อาศัยอยู่ในนั้นเป็นบุตรและธิดาที่ถึอกำเนิดไว้กับพระผู้เป็นเจ้า” (ค.พ. 76:12–14, 20–24)

ใจเซฟ สบิธเห็นพระผู้ช่วยให้รอดอีกครั้งในวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1836 ศาสดาและออลิเวอร์ คาวเดอรีปลีกตัวไปที่แท่นพูดทางทิศตะวันตกของพระวิหารเคิร์ทแลนด์ พวกท่านน้อมกายสวดอ้อนวอนอย่างจริงจัง หลังจากนั้นพระผู้ช่วยให้รอดทรงปรากฎเบื้องหห้าพวกท่าน ศาสดาประกาศว่า

“ม่านบังถูกเอาไปจากจิตใจของเรา และตาแห่งความเข้าใจของเราถูกเปีด เราทั้งสองเห็นพระเจ้าประทับยืนบนพนักแท่นยืนพูดต่อหน้าเรา และเบื้องใด้ พระบาทของพระองค์เป็นลาดพระบาททองคำบริสุทธิ์ สีเหมือนอำพัน พระเนตรของพระองค์ดังเปลวไฟ พระเกศาบนพระเศียรของพระองค์ขาวเหมือน หิมะบริสุทธิ์ สีพระพักตร์ส่องสว่างเหนือความสว่างของดวงอาทิตย์ และสุรเสียงราวก้บเสียงฟุ่งของผืนนํ้ามากหลาย แม้สุรเสียงของพระจีโฮวา โดยตรัสว่า: เราเป็นแรกและสุดท้าย เราคือเขาผู้มีชีวิต เราคือเขาผู้ถูกประหาร เราคือผู้วิงวอนแทนของเจ้าต่อพระบิดา” (ค.พ. 110:1–4).

จากประสบการณ์เช่นนั้น ศาสดาได้รับความรู้โดยตรงและเป็นพยานพิเศษถึง ความเป็นพระเจ้าของพระผู้ช่วยใท้รอด

คำลอนฃองโจเซฟ ลมิธ

ในทุกสมัยการประทาน ผู้คนของพระผู้เป็นเจ้าพึ่งการชดใช้ ของพระคริสต์เพึ่อการปลดบาปของพวกเขา

“ความรอดจะมาถึงโลกไบ่ได้หากปราศจากการไกล่เกลี่ยของพระเยซูคริสต์”3

“พระผู้เป็นเจ้า…ทรงเตรียมเครื่องถวายบูชาโดยประทานพระบุตรของ พระองค์ผู้ที่พระองค์ทรงส่งมาในเวลาอันเหมาะสมเพื่อเตรียมทาง หรือเปีดประตูใท้มนุษย์เข้าสู่ที่ประทับของพระเจ้าได้ ซึ่งเขาถูกขับออกจากที่นั่นเพราะการ ไบ่เชื่อพิง ข่าวประเสริฐเหล่านี้ดังท้องอยู่ในหูมนุษย์หลายต่อหลายครั้งในยุค ต่างๆ ของโลกจนถึงเวลาที่พระมาไซยาเสด็จมา

“โดยมีศรัทธาในการชดใข้นี้หรือแผนแห่งการไถ่ อาแบลถวายเครื่องบูชาที่ พระผู้เป็นเจ้าทรงยอมรับ คือลูกสัตว์ตัวแรกของฝูง คาอินถวายผลจากผืนดิน แต่ไม่เป็นที่ยอมรับเพราะเขาบิได้ถวายด้วยศรัทธา เขาไม่มีศรัทธา หรือเขาจะ ใช้ศรัทธาตรงข้ามกับแผนของสวรรค์ไม่ได้ แผนดังกล่าวด้องเป็นการหลั่งโลหิต ของพระผู้ถือกำเนิดองค์เดียวเพื่อชดใช้ใท้มนุษย์ เพราะนี่คือแผนแห่งการไถ่ และหากไบ่มีการหลั่งโลหิตย่อมไบ่มีการอภัยโทษ และขณะที่การเสียสละตั้งไว้ เพื่อเป็นแบบให้ตระหนักถึงการเสียสละครั้งใหญ่ซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงเตรียมไว้ การถวายบูชาในทางตรงกันข้ามจึงไบ่ด้องใช้ศรัทธา เพราะจะซื้อการไถ่ในวิธีนั้นไบ่ได้ นั้งบิได้ตั้งพลังแห่งการชดใช้ตามระเบียบนั้น ด้วยเหตุนี้คาอินจึงไบ่มี ศรัทธา และอะไรก็ตามที่บิได้เกิดจากศรัทธาคือบาป แต่อาแบลถวายเครื่องบูชา ที่ยอมรับได้ ซึ่งเขาได้รับพยานว่าเขาเป็นคนชอบธรรม โดยพระผู้เป็นเจ้าทรง รับรองของถวายของเขา [ตู ฮีบรู 11:4].

“แน่นอนว่าการหลั่งเลือดของสัตว์จะไบ่เอื้อประโยชน์ต่อมนุษย์คนใด เว้น แต่จะทำเลียนแบบ หรือเป็นแบบ หรืออธิบายถึงสิ่งที่ต้องถวายผ่านการถวาย ของพระผู้เป็นเจ้าพระองค์เอง—และกระทำการนี้ด้วยตาที่มองไปข้างหน์าด้วย ศรัทธาโดยรอคอยพลังอำนาจของการเสียสละครั้งใหญ่นั้นเพื่อการปลดบาป…

“…เราเชื่อไบ่ได้ว่าคนสมัยโบราณในทุกยุคทุกสมัยไบ่นําพาระบบของสวรรค์ อย่างที่หลายคนคิด เพราะทั้งหมดที่เคยรอด รอดโดยพลังอำนาจของแผนแห่ง การไก่อันยิ่งใหญ่ ก่อนการเสด็จมาของพระคริสต์มีมากเท่าใด หลังจากการเสด็จ มามีมากเท่านั้น หากไม่เปีนเช่นนั้น พระผู้เป็นเจ้าย่อมทรงมีแผนต่างๆ ในการ ดำเนินงาน (หากเราแสดงให้เห็น) เพื่อนํามนุษย์กลับไปอยู่กับพระองค์ แต่เรา จะเชื่อเช่นนี้ไป่ได้ เพราะไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติของมนุษย์นับ แต่มนุษย์ตก และพิธีการหรือการถวายบูชาด้วยโลหิตถูกกำหนดให้ปฎิบติจนกว่า จะมีการถวายบูชาพระคริสต์และหลั่งพระโลหิตของพระองค์เท่านั้น—ดังที่กล่าวไว้ก่อนหนํ้านี้—เพื่อมนุษย์จะเผ่ารอเวลานั้นด้วยศรัทธา…

“การถวายบูชาดังกล่าวเพียงแต่ชี้นําความคิดไปที่พระคริสต์เท่านั้น ซึ่งเรา อนุมานจากพระดำรัสที่ลํ้าเลิศเหล่านี้ของพระเยซูถึงชาวยิว ‘อับราฮัมบิดาของ ท่านชื่นชมยินดีที่จะได้เห็นวันของเราและท่านก็ได้เห็นแล้วและมีความยินดี’ [ยอห้น 8:56] ด้วยเหตุนี้ เพราะคนสมัยโบราณถวายบูชา การนั้นจึงมิได้ขัดขวาง การได้ยินพระกิตติคุณของพวกเขา แต่เปีดตาของพวกเขา ดังที่เรากล่าวไว้ก่อน หห้านี้ และทำให้พวกเขาเผ่ารอเวลาการเสด็จมาของพระผู้ช่วยให้รอด และ ปลื้มปีติในการไถ่ของพระองค์ได้…เราสรุปว่าเมื่อใดก็ตามที่พระเว้าทรงเปีดเผยพระองค์ต่อมนุษย์ในสมัยโบราณ และทรงบัญชาพวกเขาให้ถวายบูชาแด่ พระองค์ นั่นก็เพื่อพวกเขาจะเฝ้ารอเวลาการเสด็จมาของพระองค์ด้วยศรัทธา และพึ่งพาพลังอำนาจแท่งการชดใช้นั้นเพื่อการปลดบาปของพวกเขา และพวกเขาทำสิ่งนี้ หลายพันคนที่ล่วงลับไปก่อนเรา ผู้ที่อาภรณ์ของพวกเขาปราศจาก มลทิน และผู้กำลังรอคอยด้วยความมั่นใจเช่นเดียวกับโยมว่าพวกเขาจะเห็น พระองค์ในยุคสุดท้ายบนแผ่นดินโลก แม้ในเนื้อหนังของพวกเขา [ดู โยบ 19:25–26]

“เราอาจสรุปได้ว่า แห้จะมีสมัยการประทานต่างๆ แต่ทุกอย่างที่พระผู้เป็นเว้า ทรงถ่ายทอดให้ผู้คนของพระองค์ล้วนนุ่งหมายจะดึงความคิดของพวกเขามายัง จุดประสงค์ที่ยิ่งใหญ่ และสอนพวกเขาให้พึ่งพาพระผู้เป็นเจ้าแต่พระองค์เดียว ในฐานะพระผู้ทรงเป็นแหล่งกำเนิดความรอดของพวกเขา ตามที่อยู่ในกฎของ พระองค์”4

เพราะพระเยซูคริสต์ทรงลุกขึ้นจากความตาย มนุษยชาติทั้งมวลจึงจะฟึ้นคืนชีวิต

“หลักธรรมพื้นฐานของศาสนาเราคือประจักษ์พยานของอัครสาวกและศาสดา เกี่ยวกับพระเยซูคริสต์ ว่าพระองค์สิ้นพระชนม์ ทรงถูกฝัง ทรงคืนพระชนม์อีก ครั้งในวันที่สาม และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ เรื่องอื่นทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับศาสนาเรา ล้วนเป็นเพียงส่วนประกอบของเรื่องดังกล่าว แต่เกี่ยวเนื่องกับหลักธรรมเหล่านี้ เราเชื่อในของประทานแห่งพระวิญญาณบริสุทธิ์ พลังอำนาจแห่งศรัทธา การได้ รับของประทานทางวิญญาณตามพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า การพี้นผูเชื้อสายแห่งอิสราเอล และชัยชนะในที่สุดของความจริง”5

“‘เพราะว่าคนทั้งปวงด้องตายเกี่ยวเนื่องกับอาดับฉันใด คนทั้งปวงก็จะกลับ ได้ชีวิตเกี่ยวเนื่องกับพระคริสต์ฉันนั้น’ ทุกคนจะถูกยกขึ้นจากความตาย [1 โครินธ์ 15:22] พระเมษโปดกของพระผู้เป็นเจ้าทรงทําให้เกิดการฟึ้นคืนชีวิต ทั้งนี้ เพื่อทุกคนจะลุกขึ้นจากความตาย”6

“พระผู้เป็นเจ้าทรงกำหนดวันที่พระองค์จะทรงพิพากษาโลก และพระองค์ ทรงให้ความมั่นใจเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยทรงยกพระบุตรของพระองค์พระเยซูคริสต์ ขึ้นจากความตาย—ประเด็นซึ่งทำให้คนทั้งปวงผู้เชื่อในบันทึกที่ได้รับการดลใจ มีความหวังว่าจะมีความสุขและความเกษมสําราญในอนาคตของพวกเขา เพราะ ‘ถ้าพระคริสต์ไบ่ได้ทรงถูกชุบให้เป็นขึ้นมา’ เปาโลกล่าวกับชาวโครินธ์ ‘ความ เชื่อของท่านก็ไร้ประโยชน์ ท่านก็ยังตกอยู่ในบาปของตน และคนทั้งหลายที่ ล่วงหลับในพระคริสต์ก็พินาศไปด้วย’ [1 โครินธ์ 15:17–18]…

“พระคริสต์ทรงลุกขึ้นจากความตายแล้วแน่นอน และถ้าพระองค์ทรงลุกขึ้น จากความตาย พระองค์จะทรงนำมนุษย์ทุกคนมายืนอยู่เบื้องพระพักตร์พระองค์ ด้วยอำนาจของพระองค์ เพราะหากพระองค์ทรงลุกขึ้นจากความตาย สายรัด แห่งความตายทางโลกย่อมขาดเพื่อหลุมศพจะไบ่มีชัยชนะ หากเป็นเช่นนั้น หลุมศพจะไม่มีชัยชนะ คนที่ดำเนินตามพระดำรัสของพระเยซูและเชื่อฟังคำ สอนของพระองค์ไบ่เพียงจะมีคำสัญญาถึงการพี้นคืนชีวิตจากความตายเท่านั้น แต่จะมีความมั่นใจด้วยว่าเขาจะถูกรับเข้าในอาณาจักรอันรุ่งโรจน์ของพระองค์ เพราะพระองค์ตรัสว่า ‘เราอยู่ที่ไหนผู้รับใข้ของเราจะอยู่ที่มั่นด้วย’ [ยอห์น 12:26]”7

“คนที่ตายในพระเยซูคริสต์อาจคาดหวังว่าจะได้รับความปีติยินดีทั้งหมดที่ เขาครอบครองหรือบุ่งหวังในโลกนี้เมื่อพวกเขาออกมาในการพี้นคืนชีวิต…ข้าพเจ้าดีใจที่ข้าพเจ้ามีเอกสิทธิ์ของการถ่ายทอดบางสิ่งให้ท่านซึ่งหากเข้าใจ อย่างลึกซึ้งบันจะช่วยท่านเมื่อแผ่นดินไหวเสียงดังถึกก้อง เมฆมารวมตัวกัน ฝ้าแลบแปลบปลาบ และพายุพร้อมจะกระหนํ่าท่านเช่นเดียวกับเสียงครั่นครืน ของฟ้าร้อง จงจับสิ่งเหล่านี้ไว้ให้มั่น อย่ายอมให้เข่าหรือข้อต่อของท่านสั่นระรัว และอย่าให้ใจของท่านวิตก และเมื่อนั้น แผ่นดินไหว สงคราม และทอร์นาโด จะทำอะไรได้ ทำอะไรไบ่ได้เลย การสูญเสียทั้งหมดของท่านจะได้รับชดเชยใน การพี้นคืนชีวิต หากท่านจะ ซื่อสัตย์ต่อไป ข้าพเจ้าเห็นเช่นนั้นจากภาพปรากฎ ของพระผู้ทรงมหิทธิฤทธี้…

“พระผู้เป็นเจ้าทรงเปีดเผยพระบุตรของพระองค์จากสวรรค์พร้อมด้วยหลัก คำสอนเรื่องการพี้นคืนชีวิต เรามีความรู้ว่าคนที่เราฝังไว้ที่นี่ พระผู้เป็นเจ้าจะทรง นำขึ้นมาอีกครั้ง ห่อหุ้มและชุบชีวิตด้วยพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงฤทธิ์ และไบ่ว่าเราจะวางพวกเขาลง หรือนอนลงกับพวกเขา นั่นไบ่สำคัญ ในเมื่อเรา หน่วงเหนี่ยวพวกเขาไว้ไบ่ได้อีกแล้ว ขอให้ความจริงเหล่านี้ฝังอยู่ในใจเรา เพื่อ เราจะเริ่มมีความสุขแห้จะอยู่ ณ ที่นี้คับสิ่งซึ่งจะอยู่ครบถ้วนบริบูรณ์หลังจาก นี้”8

โดยผ่านการชดใช้ของพระคริสต์และการเชื่อฟ้งพระกิตติคุณ เราสามารถเป็เนทายาทร่วมกับพระเยซูคริสต์ได้

“ข้าพเจ้าเชื่อในความเป็นพระเจ้าของพระเยซูคริสต์ และว่าพระองค์ทรง สิ้นพระชนม์เพื่อบาปของมวลมนุษย์ผู้ที่ตกแล้วในแอดัม”9

หลักแห่งความเชื่อข้อ 3: “เราเชื่อว่าโดยทางการชดใช้ของพระคริสต์ มนุษยชาติทั้งมวลจะรอดโดยการปฏิบัติตามกฎและพิธีการแห่งพระกิตติคุณ”10

“หลังจากพระผู้เป็นเจ้าทรงสร้างฟ้าสวรรค์และแผ่นดินโลก พระองค์เสด็จลง มาในวันที่หกและตรัสว่าเราจะ ‘สร้างมนุษย์ขึ้นตามรูปลักษณ์ของเรา’ ตามรูป ลักษณ์ของใครหรือ ตามรูปลักษณ์ของพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงสร้างพวกเขาเป็นชาย และหญิง บริสูทธื้ใร้เดียงสา ไบ่มีพิษภัย และไร้มลทิน โดยมีอุปนิสัยและรูป ลักษณ์เหมือนคับพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย [ดู ปฐมกาล 1:26–27] เมื่อมนุษย์ตก เขามิได้สูญเสียรูปลักษณ์ของเขา แต่ยังคงมีรูปลักษณ์ของพระผู้รังสรรค์ของเขา พระคริสต์ ผู้ทรงเป็นรูปลักษณ์ของมนุษย์และละม้ายคล้ายกับพระบิดามาก [ดู ฮีบรู 1:3]…โดยผ่านการชดใช้ของพระคริสต์ การพี้นคืนชีวิต และการ เชื่อฟ้งพระกิตติคุณ เราจะถูกปรับให้เข้าก้บรูปลักษณ์ของพระบุตรของพระองค์ พระเยซูคริสต์อีกครั้ง [ดู โรม 8:29] เมื่อนั้นเราจะมีรูปลักษณ์ รัศมีภาพ และ อุปนิสัยของพระผู้เป็นเจ้า”11

“พระบิดาของวิญญาณเรา [ทรงจัดเตรียม] การเสียสละให้มนุษย์ แผนแห่ง การไถ่ พลังอำนาจแห่งการชดใช้ และแบบแผนแห่งความรอด โดยทรงมี วัตถุประสงค์ที่ยิ่งใหญ่คือนำมนุษย์กลับสู่ที่ประทับของกษัตริย์แห่งสวรรค์ ทรง สวมมงกุฎให้พวกเขาในรัศมีภาพชั้นสูง และทำให้พวกเขาเป็นทายาทร่วมก้บ พระบุตรเพื่อรับมรดกซึ่งไบ่เน่าเปีอย ไบ่แปดเปี้อน และไบ่หมดไป”12

“พระคัมภีร์กล่าวว่าคนที่จะเชื่อฟ้งพระบัญญัติจะเป็นทายาทของพระผู้เป็นเจ้าและเป็นทายาทร่วมกับพระเยซูคริสต์…‘พระวิญญาณนั้นเป็นพยานร่วม กับวิญญาณจิตของเราทั้งหลายว่า เราทั้งหลายเป็นบุตรของพระเจ้า และถ้าเรา ทั้งหลายเป็นบุตรแห้ว เราก็เป็นทายาท คือเป็นทายาทของพระเจ้า และเป็น ทายาทร่วมกับพระเยซูคริสต์ เมื่อเราทั้งหลายทนทุกข์ทรมานด้วยกันลับพระองค์ นั้น ก็เพื่อเราทั้งหลายจะได้ศักดิ์ศรีด้วยลันลับพระองค์ด้วย’ [ดู โรม 8:16–17]”13

“นับเป็นความอุ่นใจแก่ผู้เศร้าโศกเมื่อพวกเขาด้องพรากจากสามี ภรรยา บิดา มารดา บุตร หรือญาติสนิท ที่ได้รู้ว่าแม้ร่างกายทางโลกจะนอนลงและ สลายไป แต่พวกเขาจะลุกขึ้นอีกครั้งเพื่ออยู่ในการเผาไหม้อันเป็นนิจในรัศมี ภาพอมตะ ไบ่เสียใจ ไบ่ทุกข์ทรมาน และไบ่ตายอีก แต่พวกเขาจะเป็นทายาท ของพระผู้เป็นเจ้าและเป็นทายาทร่วมกับพระเยซูคริสต์”14

พระเยซูคริสต์ทรงดึพร้อม บริลุทธิ์ และศักดิ์สิทธิ์ และพระองค์ทรงขอให้เราเป็นเหมือนพระองค์

“ท่ามกลางสิทธิชนทั้งหลายในวันเวลาสูดห้ายนี้ ใครเลยจะคิดว่าตนเป็นคน ดีเท่าพระเจ้าของเรา ใครดีพร้อม ใครปริสูทธิ์ ใครศักดิ์สิทธิ์เท่าพระองค์ เราพบ คนเช่นนั้นหรือไบ่ พระองค์บิได้ทรงล่วงละเมิดหรือฝ่าพีนพระบัญชาหรือกฎ ของสวรรค์—ไบ่มีคำหลอกลวงอยู่ในพระโอษฐ์ของพระองค์ ทั้งไบ่พบเล่ห์เหลี่ยมมารยาในพระทัยของพระองค์…คนที่เหมือนพระคริสต์อยู่ไหนเล่า เราไบ่มีทางพบคนเช่นนั้นบนแผ่นดินโลก”15

“ปุถุชนตกอยู่ใด้อำนาจของจิตใจหลงใหลในลาภยศสักการ บิใช่ด้วยความ สมัครใจ แต่พระคริสต์ทรงทำให้มนุษย์อยู่ในความหวัง [ดู โรม 8:20]—ทุกคน อยู่ใด้อำนาจของจิตใจที่หลงใหลในลาภยศสักการขณะเดินไปตามทางคดเคี้ยว และความยากลำบากซึ่งโอบล้ อมพวกเขา มนุษย์ผู้เป็นอิสระจากความหลงใหล นั้นอยู่ที่ไหน ไม่มีใครดีพร้อมนอกจากพระเยซู และเหตุใดพระองค์ทรงดีพร้อม เพราะพระองค์ทรงเป็นพระบุตรของพระผู้เป็นเจ้า ทรงมีความบริบูรณ์ของพระวิญญาณ และมีพลังอำนาจมากกว่ามนุษย์”16

“เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ [พระเยซูคริสต์] ทรงมีความรอบรู้ทั้งหมดที่จำเป็นต่อ การทำให้พระองค์ทรงสามารถควบคุมและปกครองอาณาจักรของชาวยิวได้ และ ทรงสามารถเจรจาด้วยเหตุผลกับปรัชญาเมธีที่ปราดเปรื่องที่สุดในด้านกฎหมาย และศาสนาได้ ทรงทำให้ทฤษฎีและการปฏิบัติของพวกเขากลายเป็นความโง่ เขลาเมื่อเทียบกับพระปรีชาญาณที่พระองค์ทรงครอบครอง”17

“เราหวังว่าพระบัญญัติของพระเจ้าของเราจะวนเวียนอยู่ในใจท่านเสมอ จะ สอนท่านไบ่เฉพาะพระประสงค์ของพระองค์ในการประกาศพระกิตติคุณของ พระองค์เท่านั้น แต่สอนความอ่อนโยนของพระองค์และการดำเนินพระชนม์ชีพ ที่ดีพร้อมต่อหน้าคนทั้งปวงด้วย แน้ในช่วงเวลาของการข่มเหงที่รุนแรงและ ทารุณกรรมซึ่งคนชั่วและคนคิดคดทรยศกระทำต่อพระองค์ พี่น้องทั้งหลาย จำ ไว้ว่าพระองค์ทรงขอให้ท่านมาสู่ความศักดี้สิทธี้ และนั่นคือเราต้องเป็นเหมือน พระองค์ในความบริสุทธี้ใช่หรือไบ่ ท่านพึงประพฤติตนให้ฉลาด ศักดี้สิทธี้ สะอาดหมดจด และดีพร้อมในสายพระเนตรของพระองค์ และพึงจำไว้เช่นกัน ว่าพระเนตรของพระองค์เฝ้ามองท่านอยู่ตลอดเวลา”18

“เมื่อเราใคร่ครวญความศักดิ์สิทธิ์และความดีพร้อมของพระอาจารย์ผู้ยิ่งใหญ่ ของเรา ผู้ทรงเปีดทางให้เรามาหาพระองค์ แม้โดยการเสียสละของพระองค์ ใจ เราอ่อนลงเพราะพระจริยวัตรอันอ่อนน้อมของพระองค์ และเมื่อเราใคร่ครวญ ด้วยว่าพระองค์ทรงขอให้เราดีพร้อมในทุกสิ่งเพี่อเราจะพร้อมพบพระองค์ใน สันติสุขเมื่อพระองค์เสด็จมาในรัศมีภาพพร้อมเทพผู้บริสุทธี้ทั้งหลาย เราใคร่ ขอแนะนําพี่น้องของเราด้วยความกล้าหาญให้อ่อนน้อมถ่อมตนและเต็มไปด้วย การสวดอ้อนวอน ดำรงตนในฐานะบุตรแห่งความสว่างและแห่งวัน เพี่อพวกเขาจะมืพระคุณด้านทานการล่อลวงทุกอย่าง และเอาชนะความชั่วร้ายทุกอย่าง ในพระนามอันสูงส่งของพระเจ้าพระเยซูคริสต์ของเรา พี่น้องทั้งหลายจงแน่ใจ เถิดว่า วันนั้นอยู่ใกล้เต็มทีเมื่อพระองค์ผู้เป็นเจ้านายของบ้านจะลุกขึ้นมาปีด ประดู และจะไม่มืใครได้รับอนุญาตให้นั่งอยู่ที่งานเลี้ยงสมรสนอกจากคนที่สวม ชุดแต่งงาน [ดู มัทธิว 22:1–14]”19

ข้อเสนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนเรื่องราวเกี่ยวกับภาพปรากฎที่โจเซฟ สมิธเห็นพระผู้ช่วยให้รอด (หน้า 47–50) ท่านทีความคิดและความรู้สึกอย่างไรขณะไตร่ตรองประสบการณ์เหล่านี้

  • ในสมัยโบราณ สัตวบูชาช่วยให้ผู้คนของพระเจ้า “เบิดตาของพวกเขาและ …เฝ้ารอเวลาการเสด็จมาของพระผู้ช่วยให้รอดและปลื้มปีติในการไถ่ของ พระองค์ได้” (หน้า 51) ทุกวันนี้มีอะไรม้างที่ช่วยให้ท่านหมายพึ่งพระผู้ช่วยให้รอด

  • อ่านย่อหน้าสุดท้ายของหน้า 52 สังเกตว่าในข้อความนี้ ส่วนประกอบคือสิ่ง ที่เชื่อมต่อกับบางสิ่งที่สำคัญกว่า เช่น กิ่งเชื่อมต่อกับสำด้น ท่านคิดว่าเหตุ ใดประจักษ์พยานของอัครสาวกและศาสดาเกี่ยวกับการชดใช้และการพี้นคืน พระชนม์ของพระผู้ช่วยให้รอดจึงเป็น “หลักธรรมพื้นฐานของศาสนา เรา” ท่านจะรับใช้ที่บ้านและในศาสนาจักรอย่างไรถ้าท่านระลึกว่าเรื่องอื่นทั้งหมด เป็นส่วนประกอบของหลักธรรมเหล่านี้

  • อ่านทวนคำสอนของศาสดาโจเซฟเกี่ยวกับการพี้นคืนชีวิต (หห้า 52–54) ท่านไต้รับการปลอบโยนอะไรจากการรู้ว่า “การสูญเสียทั้งหมดของท่านจะได้ รับการชดเชยในการพี้นคืนชีวิต หากท่านจะ ซื่อสัตย์ต่อไป” ความรู้เรื่องการ พี้นคืนชีวิตช่วยให้เรา “เริ่มมีความสุขกับสิ่งซึ่งจะอยู่ครบถ้วนบริบูรณ์หลัง จากนี้” ในด้านใด

  • ขณะอ่านทวนหห้า 54–57 ให้ไตร่ตรองสิ่งที่พระผู้ช่วยให้รอดทรงทําเพื่อเรา จะได้เป็นทายาทร่วมกับพระองค์ คิดหาวิธีที่ท่านจะแสดงให้พระองค์เห็น ความกตัญญของท่านต่อการพลีพระชนม์ชีพเพื่อการชดใช้ของพระองค์

  • ในหน้า 55–57 ศาสดาใจเซฟ สมิธกล่าวถึงคุณลักษณะมากมายของพระผู้ช่วยให้รอด ท่านคิดถึงคุณลักษณะใดอีกบ้างเมื่อท่านไตร่ตรองพระชนม์ชีพ และพระพันธกิจของพระผู้ช่วยให้รอด คิดถึงบางสิ่งที่ท่านทำได้เพื่อจะเป็น เหมือนพระองค์มากขึ้น

ข้อพระคัมภีร์ที่กี่ยวข้อง: อิสยาห้ 53:1–12; 2 มีไฟ 9:5–26; ค.พ. 20:21–29

อ้างอิง

  1. รายงานโดย จอร์จ เอ. สมิธ Deseret News, Aug. 12, 1857, p. 183.

  2. History of the Church, 2:443; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book B–1, addenda, p. 5 หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุค สุดท้าย ซอลทเลคซิตี้ ยูทาห์

  3. History of the Church, 5:555; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 27 ส.ค. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ และวิลเลียม เคลย์ต์น

  4. History of the Church, 2:15–17; ปรับเปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทัน สมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมฟ้ใน Evening and Morning Star, Mar. 1834, p. 143.

  5. History of the Church, 3:30; จาก บทควานที่จัดพิมพ์ใน Elders’ Journal, July 1838, p. 44; โจเซฟ สมิธเป็น บรรณาธิการวารสาร

  6. History of the Church, 6:366; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 12 พ.ค. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงาน โดย โธบัส บัลล็อค

  7. History of the Church, 2:18–19; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมผ้ไน Evening and Morning Star, Mar. 1834, p. 144.

  8. History of the Church, 5:361–62; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำ ปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 16 เม.ย. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฝ้และวิลลาร์ด ริ,ชาร์ดส์

  9. History of the Church, 4:78; จาก จดหมายที่แมทธิว แอล. เดวิสเขียนถึง แ้มรีย์ เดวิส 6 ก.พ. 1840 วอชิงตัน ดี. ซี. รายงานคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธ เมื่อวันที่ 5 ก.พ. 1840 ในวอชิงตัน ดี.ซี.

  10. หลักแห่งความเชื่อข้อ 3

  11. อ้างโดย เจมส์ เบอร์เกสส์ ในการรวบรวมบทคัดลอกจากคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธ; James Burgess, Journalร, 1841–48, vol. 2 หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

  12. History of the Church, 2:5; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมพ์ ใน Evening and Morning Star, Feb. 1834, p. 135.

  13. อ้างโดย จอร์จ ลาอับ ในการรวบรวม บทอัดลอกจากคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธ ประมาณปี 1845; George Laub, Reminiscences and Journal, Jan. 1845–Apr. 1857, p. 31 หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร

  14. History of the Church, 6:306; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 7 เม.ย. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้ วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ โธบัส บัลล็อค และวิลเลียม เคลย์ตัน

  15. History of the Church, 2:23; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมพ์ไน Evening and Morning Star, Apr. 1834, p. 152.

  16. History of the Church, 4:358; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 16 พ.ค. 1841 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย Times and Seasons, June 1, 1841, pp. 429–30.

  17. History of the Church, 6:608; จาก คำแนะนำของโจเซฟ สมิธเมื่อวันที่ 27 มิ.ย.1844 ในคุกคาร์เทจ คาร์เทจ อิลลินอยส์; รายงานโดย ไซรัส เอช. วีลล็อค

  18. History of the Church, 2:13; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมพ์ใน Evening and Morning Star, Mar. 1834, p. 142.

  19. จดหมายที่โจเซฟ สมิธและเหล่ามหา ปุโรหิตเขียนถึงพี่น้องชายในเกเนซีโอ นิวยอร์ก 23 พ.ย. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

ภาพ
Jospeh and Oliver

พระผู้ช่วยให้รอดทรงปรากฎต่อโจเซฟ สป็ธและออลิเวอร์ คาวเดอรืในพระวิหารเคิร์ทแลนด์ “ม่านบังถูกเราไปจากจิตใจของเรา” โจเซฟ กล่าว “และตาแห่งความเข้าใจของเราถูกเป็ด เราทั้งสองเห็นพระเจ้าประทับยืนบนพนักแท่นพูดต่อหห้าเรา”

ภาพ
resurrected Lord

“พระเมษโปคกของพระผู้เป็นเจ้าทรงทำไห้เกิดการฟิ้นคืนชีวิต ทั้งนี้เพื่อทุกคนจะลุกขึ้นจากความตาย”

ภาพ
Christ with children

“เมี่อเราใคร่ครวญความศักดิ้สิทธิ้และความดีพร้อมของพระอาจารย์ผู้ยิ่งใหญ่ของเรา…ใจเราอ่อนลงเพราะพระจริยวัตรอันอ่อนน้อมของพระองค์”