คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 29: อยู่กับผู้อื่นด้วยสันติและ ความปรองดอง


บทที่ 29

อยู่กับผู้อื่นด้วยสันติและ ความปรองดอง

“เราต้องการอยู่อย่างสันติกับมนุษย์ทุกคน”

จากชีวิตฃองโจโซฟ ลมิธ

ความปรารถนาประการหนึ่งของสิทธิชนยุคสุดท้ายสมัยเริ่มแรกคือได้รับอนุ ญาตให้ดำเนินชีวิตตามศาสนาของพวกเขาอย่างสันติ แต่ไม่ว่าพวกเขาจะย้ายไปที่ใด สันติสุขหายไปสิ้น ค.ศ. 1833 เพียงสองป็หลังจากอุทิศสถานที่ชุมนุมใน มิสซูรี กลุ่มคนร้ายบังคับสิทธิชนให้ออกจากแจ็คสันเคาน์ตี้ รัฐมิสซูรี (ดู หน้า 281) สมาชิกศาสนาจักรพบที่หลบมัยชั่วคราวในเคลย์เคาน์ตี้ มิสซู่รี จากนั้น ในป็ ค.ศ. 1836 พวกเขาเริ่มย้ายเข้าไปอยู่ทางภาคเหนือของมิสซูรี ส่วนใหญ่ตั้ง รกรากในคาลด์เวลล์เคาน์ตี้ เคาน์ตี้แห่งใหม่ที่จัดตั้งโดยสภานิติบัญญัติของรัฐ เพื่อรองรับสิทธิชน ไม นานพีาร์เวสต์ซึ่งเป็นที่ว่าการเขตได้กลายเป็นถิ่นฐานอัน รุ่งเรืองของสิทธิชนยุคสุดท้าย

ศาสดาโจเซฟ สมิธยังคงอยู่ในเนืองเคิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอ แต่ในเดือน มกราคม ค.ศ. 1838 ท่านจำใจด้องจากมาเพราะเป็นห่วงชีวิตตนเอง ท่านอับ ครอบครัวเดินทาง 900 ไมล์ (1,448 กิโลเมตร) ไปเนืองพีาร์เวสด์เพื่อสมทบ กับสิทธิชนที่นั่น ต่อมาในป็ ค.ศ. 1838 สิทธิชนเกิร์ทแลนด์ส่วนใหญ่ขายหรือ ไม่ ก็ทิ้งห้านเรือนและตามศาสดาไปมิสซูรื เพื่อรองรับสมาชิกศาสนาจักรที่หลั่ง ไหลเข้าไปในเขตนั้น ศาสดาจึงกำหนดบริเวณให้สิทธิชนตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้พีาร์เวสด์ ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1838 นืพิธีอุทิศศิลามุมเอกของพระวิหารใน ฟาร์เวสด์ สิทธิชนจึงหวังว่าจะได้ตั้งถิ่นฐานถาวรเพื่อพวกเขาจะเจริญรุ่งเรืองและ มีสันติสุข น่าเสียดายที่ไม่ นานมักความตึงเครียดคล้ายอับที่พวกเขาประสบใน แจ็คสันเคาน์ตี้ก็ได้แบ่งพวกเขาออกจากผู้อยู่อาศัยในห้องที่ และในฤดูใบไห้ร่วง ค.ศ. 1838 กลุ่มคนร้ายและกองกำลังอาสาสมัครเริ่มก่อกวนและโจมตีสิทธิชนยุคสุดท้ายอีกครั้ง

วันหนึ่ง ศาสดากำลังไปเยี่ยมบ้านพ่อแม่ในเมืองฟาร์เวสต์เมื่อทหารบ้านติด อาวุธกลุ่มหนึ่งเข้ามาประกาศว่าพวกเขามาฆ่าท่านด้วยข้อกล่าวหาร้ายแรงที่ทึกทักขึ้นมาเอง ลูซี แมืค สมิธมารดาของศาสดาพูดถึงของประทานแห่งการสร้าง สันติของท่านดังนี้

“[โจเซฟ] มองหบ้าพวกเขาด้วยรอยยิ้มที่ดูสบายใจมาก เขาเดินเข้าไปจับ มือพวกนั้นทึละคนด้วยอากัปกิริยาซึ่งท่าใบ้เชื่อมั่นว่าเขามิได้ท่าผิดกฎหมายทั้ง มิได้เป็นคนหบ้าซื่อใจคดที่กลัวจนตัวสั่น พวกนั้นหยุดและจ้องมองโจเซฟราว กับเขาเป็นผีที่เข้ามายืนขวางหบ้า

“โจเซฟมั่งลง เริ่มสนทนากับคนเหล่านั้น อธิบายใบ้ฟ้งถึงทัศนะและความ รู้สึกของผู้คนที่เรียกตนเองว่าชาวมอรมอนตลอดจนอุดมการณ์และการปฏิบัติที่ พวกเขาได้รับจากศัตรูตั้งแต่เริ่มด้นศาสนาจักร เขาบอกว่าเจตนาร้ายและการใส่ ร้ายป้ายสึติดตามชาวมอรมอนมาตั้งแต่พวกเขาเข้าไปในมิสซูรี แต่พวกเขาเป็น ผู้คนที่ไม่เคยท่าผิดกฎที่รู้อยู่แล้ว แต่ล้าท่าผิดพวกเขาก็พร้อมจะรับการดำเนิน คดีตามกฎ …

“หลังจากนั้น โจเซฟลุกขึ้นพูดว่า ‘แม่ครับ ผมคงด้องกลับบ้านก่อน เอ็มมา คอยผมอยู่’ ชายสองคนลุกขึ้นยืนทันทีพลางพูดว่า ‘คุณจะไปคนเดียวไม่ได้ เพราะไช่ปลอดภัย เราจะไปกับคุณ’ คอยคุ้มกันใบ้คุช่ โจเซฟกล่าวขอบคุณ และคนทั้งสองก็ไปกับเขา

“ส่วนคนที่เหลือยืนอยู่ใกล้ๆ ประตูขณะที่สองคนนั้นไม่อยู่ และฉันได้ยิน การสนทนาระหว่างพวกเขาดังนี้

“ทหารคนแรก ‘นายไม่รู้สึกแปลกๆ บ้างรีไงเมื่อสมิธจับมือนาย ฉันไม่เคย รู้สึกแบบนี้มาก่อนในชีวิต’

“ทหารคนที่สอง ‘ฉันรู้สึกคล้ายกับจะขยับเขยื้อนไม่ได้ ฉันจะไม่ทำใบ้ผม บนศีรษะของชายคนนั้นเสียหายแบ้แถ่เส้นเดียว’

“ทหารคนที่สาม ‘นึ่เป็นครั้งสุดบ้ายที่นายจะตามตัวฉันมาม่าโจ สมิธหรือ พวกมอรมอน’ …

“ชายสองคนที่ไปกับลูกชายของฉันสัญญาว่าจะไปปลดประจำการกองกำลัง อาสาสมัครที่เขาบังคับกัญชาอยู่และกลับบ้าน เขาบอกว่าล้าโจเซฟด้องการใข้ พวกเขา พวก เขาจะกลับมาและติดตามโจเซฟไปทุกที่”1

การพูดความจริงด้วยท่าทีที่อ่อนโยนและตรงไปตรงมาทำให้โจเซฟ สมิธลบ อคติและความมุ่งร้ายได้ ท่านสร้างสันติกับคนมากมายที่เคยเป็นศัตรูของท่าน

คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ

เราจะอยู่กับผู้อื่นด้วยความปรองดองและความรักได้มากขึ้น เมื่อเราพยายามเป็นผู้สร้างสันติ

“พระเยซูตรัสว่า ‘บุคคลผู้ใดสร้างสันติผู้นั้นเป็นสุข เพราะว่าพระเจ้าจะทรง เรียกเขาว่าเป็นบุตร’ [มัทธิว 5:9] ฉะนั้นหากประเทศชาติ รัฐ ชุมชน หรือ ครอบครัวจะปลาบปลื้มในสิ่งใด สิ่งนั้นควรเป็นสันติสุข

“สันติสุข บุตรที่รักทั้งหลายของสวรรค์!—สันติสุขเหมือนแสงสว่างจากบิดา มารดาผู้ยิ่งใหญ่องค์เดียวกัน ทำให้คนเที่ยงธรรมและคนอาธรรม์เกิดความพอใจ มีชีวิตชีวา และมีความสุข สันติสุขเป็นเนื้อแห้ของความสุขบนแผ่นดินโลกและ ความเกษมศานต์บนสวรรค์

“คนที่ไม่พยายามด้วยสุดพลังของร่างกายและความคิด ด้วยอิทธิพลทั้งหมด ของเขาทั้งที่ห้านและต่างแดน—และจูงใจผู้อื่นให้ท่าเช่นเดียวกัน—ให้แสวงหา สันติสุขและธำรงไว้เพื่อประโยชน์และความสะดวกของเขา และเพื่อเกียรติภูมิ ของรัฐ ชาติ และประเทศของเขา คนๆ นั้นย่อมไม่มีสิทธิ้ได้รับความเมตตา ของบุรุษ ทั้งไมป็ควรได้รับมิตรภาพของสตรีหรือความคุ้มครองของรัฐบาล

“เขาเป็นตัวเพลี้ยที่กัดกินอวัยวะสำคัญของตน เป็นนกแร้งที่กินร่างกาย ตนเอง ส่วนความคาดหวังและความรุ่งเรืองในชีวิตนั้น เขานั่นแหละคือ [ผู้ทำลาย] ความพอใจของตน

“ชุมชนของคนเช่นนั้นไม่ต่างอะไรกับนรกบนแผ่นดินโลก และไป็ควรเข้าไป เกี่ยวข้องด้วยเพราะไม่เหมาะกับรอยยิ้มของคนอิสระหรือเสียงสรรเสริญของคน กล้า

“แต่ผู้สร้างสันติ โล้จงเงี่ยหูฟ้งเขา! เพราะล้อยคำจากปากเขาและคำสอน ของเขาพรั่งพรูเหมือนสายฝนและหยาดหยดเหมือนนั้าล้าง พวกเขาเป็นเหมือน หมอกบางเบาบนพรรณไห้ และเหมือนฝนที่พร่างพรมบนผืนหญ้า

“ความมีชีวิตชีวา คุณธรรม ความรัก ความพอใจ ความใจบุญสุนทาน ความ เมตตากรุณา ความเห็นอกเห็นใจ ความปรารถนาดี และมิตรภาพจะผลักตัน ชีวิตไปสู่ความเกษมศานต์ และมนุษย์ซึ่งตากว่าเทพเล็กน้อยจะอยู่ด้วยความ เป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันเมื่อใช้พลังอำนาจ สิทธิพิเศษ และความรู้ของพวกเขา ตามระเบียบ กฎเกณฑ์ และช้อบังคับของการเปิดเผยโดยพระเยซูคริสต์ และ กลิ่นหอมที่ลมหายใจแห่งความปืติยินดีและความพึงพอใจจากการสนทนาปราศรัยที่ชอบธรรมพัดพามาเป็นเหมือนกลิ่นหอมหวลจากนํ้าบันศักดี้สิทธี้ที่เทลง บนศีรษะอาโรน หรือเหมือนกลิ่นหอมกรุ่นจากทุ่งเครื่องเทศของชาวอาหรับ แท้จริงแล้ว เสียงของผู้สร้างสันติเป็นมากกว่านั้น

“ดุจดังทิพยดุริยางค์จากแดนสรวง

สะกดจิตวิญญาณทุกดวงและปลอบขวัญ

เปลี่ยนพิภพเป็นสุขาวดีพลัน

แลมนุษย์นั้นเป็นมุกงามเลิศเลอ”2

“พี่น้องที่รักทั้งหลาย จงดำเนินต่อไปในความรักฉันพี่น้อง ดำเนินในความ อ่อนโยน โดยเฟัาระวังจนถึงสวดอ้อนวอน เพี่อท่านจะไป็พ่ายแพั แสวงหา สันติสุข ดังที่เปาโลพี่น้องที่รักของเรากล่าว เพี่อท่านจะเป็นบุตรของพระบิดา บนสวรรค์ของเรา [ดู โรม 14:19]”3

“มนุษยธรรมต่อคนทั้งปวง เหตุผลและการขัดเกลาเพื่อเสริมคุณธรรม และ การทำความดีตอบแทนความชั่ว…ถูกออกแบบไว้ให้เห็นชัดเจนเพื่อใช้เยีขว- ยาความไร้ระเบียบของสังคมมากกว่าจะพูดโน้มน้าวให้จับอาวุธ หรือแห้แต่โต้ เถียงอย่างขาดสติกับมิตรสหาย…คติพจน์ของเราคือสันติสุขกับคนทั้งปวง! หากเราบีป็ติในความรักของพระผู้เป็นเจ้า ขอให้เราพยายามให้เหตุผลของป็ติ นั้น ซึ่งคนทั้งโลกไม่สามารถปฏิเสธหรือต่อต้านไต้”4

“เราต้องการอยู อย่างสันติกับมนุษย์ทุกคน”5

เราปลูกปังสันติสุขได้โดยให้เกียรติกันและไม่จับผิด

“เรา [หวังว่า] พี่น้องของเราจะระมัดระวังความรู้สึกของกันและกัน ดำเนิน ในความรักโดยให้เกียรติกันมากกว่าตนเอง ตามที่พระเจ้าทรงเรียกร้อง”6

“คนที่ประสงค์จะทำดี เราควรสรรเสริญคุณธรรมของเขา และไม่พูดถึงความ ผิดของเขาสับหลัง”7

“ในโลกนี้ มนุษยชาติเห็นแก ตัวโดยกำเนิด มักใหญ่ใฝ่สูงและพยายามทำตน ให้เหนือคนอื่น แต่บางคนก็ยินดีเกื้อหนุนผู้อื่นเช่นเดียวกับตนเอง”8

“ขอให้อัครสาวกสิบสองและสิทธิชนทุกคนยินดีสารภาพบาปทั้งหมดของ พวกเขา และไม่ปกป็ดส่วนหนึ่งไว้ ขอให้ [พวกเขา] อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ยก ตนข่มท่าน ระวังความจองหอง ไม่ พยายามทำตนเหนือคนอื่น แต่กระทำเพื่อ ประโยชน์ของกันและกัน สวดอ้อนวอนให้กัน ให้เกียรติพี่น้องของเรา หรือพูด ถึงเขาต้วยความรู้สึกยกย่อง ไม่ลอบกัดและไมำลายพี่น้องของเรา”9

“หากท่านอยากขจัดการพูดให้ร้าย การลอบกัด ตลอดจนความคิดและความ รู้สึกเหมือนคนใจแคบให้หมดไปจากพวกท่าน จงอ่อนน้อมถ่อมตน ปลูกปัง หลักธรรมทุกช้อของคุณธรรมและความรัก เมื่อนั้นพรของพระเยโฮวาห์จะเป็น ของท่าน และท่านจะเห็นวันอันน่าชื่นชมยินดี สันติสุขจะอยู่ในเนืองของท่าน และความรุ่งเรืองจะอยู่ในเขตแดนของท่าน”10

เราปลูกฟังความปรองดองในชุมชนของเราได้โดยเคารพเสรีภาพของทุกคนที่เชื่อตามความรู้สึกผิดชอบของพวกเขา

หลักแห่งควานเชื่อข้อ 11: “เราถือสิทธี้แห่งการนมัสการพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรง ฤทธานุภาพตามการบอกของความรู้สึกผิดชอบของเราเอง และยอมให้คนทั้ง ปวงมีสิทธี้เช่นเดียวกัน ให้เขานมัสการอย่างใด ที่ใด หรือสิ่งใดที่เขาจะนมัสการ”11

เราคิดว่าหลักสัจธรรมและประเด็นสำคัญประการหนึ่งซึ่งเราเชื่อว่าทุกคนควร พิจารณาอย่างจริงจังคือมนุษย์ทุกคนถูกสร้างมาเท่าเทียมกัน และทุกคนทีสิทธี้ คิดด้วยตนเองในทุกเรื่องตามความรู้สึกผิดชอบ ด้วยเหตุนี้หากเรามีอำนาจ เรา ไม่ควรตัดสิทธี้คนใดจากการใช้อิสรภาพของความคิดที่สวรรค์เมตตามอบให้ ครอบครัวมนุษย์เป็นของประทานประเสริฐสุดอย่างหนึ่ง”12

“ช้าพเจ้ามีความคิดกว้างไกลที่สุด และมีความใจบุญต่อทุกฝ่าย ทุกพรรค และทุกนิกาย ช้าพเจ้าถือว่าสิทธิและเสรีภาพแห่งความรู้สึกผิดชอบเป็นเรื่อง ศักดิ๙สิทธี้และน่าหวงแหง่ที่สุด และช้าพเจ้าไม่ดูถูกใครที่มีความคิดเห็นต่างจาก ช้าพเจ้า”13

“สิทธิชนเป็นพยานได้ว่าช้าพเจ้ายอมพลีชีวิตเพื่อพี่ห้องหรือไม่ หากแสดง ให้เห็นแล้วว่าช้าพเจ้ายอมตายเพื่อ ‘มอรมอม่ ช้าพเจ้ากล้าประกาศต่อสวรรค์ เบื้องบนว่าช้าพเจ้าพร้อมจะตายเพื่อปกป้องสิทธี้ของเพรสไบทีเรียน แบปทิสต์ หรือคนดีในทุกนิกายเช่นเดียวกัน เพราะหลักธรรมเดียวกันกับที่เหยียบย่ำสิทธี้ ของสิทธิชนยุคสุดห้ายจะเหยียบย่ำสิทธี้ของโรมันคาทอลิก หรือของนิกายอื่น ซึ่งอาจไม่ เป็นที่นิยมชมชอบและอ่อนแอเกินกว่าจะปกป้องตนเอง

“ความรักเสรีภาพนั่นเองที่สร้างแรงมันดาลใจให้จิตวิญญาณช้าพเจ้า เสรีภาพของพลเมืองและศาสนาต่อเผ่าพันธุมนุษย์ทั้งหมด คุณปู่คุณตาแผ่ขยาย ความรักเสรีภาพเช้ามาในจิตวิญญาณช้าพเจ้าขณะพวกท่านเล่นกับช้าพเจ้า …

“หากช้าพเจ้ารู้สึกว่ามนุษยชาติทำผิด ช้าพเจ้าจะกดพวกเขาลงหรือ เปล่าเลย ช้าพเจ้าจะยกพวกเขาขึ้น และในวิธีของเขาเองด้วย หากช้าพเจ้าพูดโห้มห้าวให้ เขาเชื่อไม่ได้ว่าวิธีของช้าพเจ้าดีกว่า ช้าพเจ้าจะไม่ พยายามบังคับมนุษย์คนใดให้ เชื่ออย่างที่ช้าพเจ้าเชื่อ แต่จะใช้หลักเหตุผลเท่านั้น เพราะความจริงจะปรากฎ ให้เห็นเอง”14

“เราควรทราบอคติเหล่านั้นอยู่เสมอซึ่งบางครั้งจะปรากฎตัวแปลกๆ และ ตรงกันมากกับธรรมชาติมนุษย์ ด้านกับมิตรสหาย เพื่อนห้าน และพี่ห้องของ โลกผู้เลือกผิดแผกไปจากเราทั้งในความคิดเห็นและในความเชื่อ ศาสนาของ เราอยู่ระหว่างเรากับพระผู้เป็นเจ้าของเรา ศาสนาของพวกเขาอยู่ระหว่างพวก เขากับพระผู้เป็นเจ้าของพวกเขา”15

“เมื่อเราเห็นคุณสมบัติที่ดีงามในมนุษย์ เราควรยอมรับเสมอ ปล่อยให้ความ เข้าใจของพวกเขาเป็นอย่างที่บันจะเป็นในเรื่องของข้อบัญญัติและหลักคำสอน เพราะมนุษย์ทั้งปวงเป็นหรือควรจะเป็นอิสระ ครอบครองสิทธี้ที่ไม่อาจเพิกถอน ได้ มีคุณสมบัติอันสูงส่งและดีงามของกฎแห่งธรรมชาติและการป้องกันตนเอง ที่จะคิด กระทำ และพูดตามที่พวกเขาพอใจขณะยังคงเคารพสิทธี้และเอกสิทธี้ ของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย โดยไม่ล่วงลํ้า ข้าพเจ้าเห็นด้วยและปฏิบัติตามหลักคำ สอนนี้สุดหัวใจ”16

“บุคคลทุกคนมีสิทธึ๋ได้รับสิทธี้เสรีของตน เพราะพระผู้เป็นเจ้าทรงคำหนดไจ้ พระองค์ทรงแต่งตั้งมนุษย์ให้เป็นตัวแทนทางศีลธรรม และประทานอำนาจให้ เขาเลือกความดีหรือความชั่ว แสวงหาสิ่งดี โดยดำเนินตามเส้นทางแห่งความ บริสูทธี้ในชีวิตนี้ อันจะนำมาซึ่งสันติสุขในใจและป็ติในพระวิญญาณบริสุทธี้ที่นี่ และความบริบูรณ์แห่งป็ติและความสุข ณ เบื้องพระหัตถ์ขวาของพระองค์หลัง จากนี้ หรือจะดำเนินตามวิถีชั่ว ทำบาปและกบฎต่อพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึง นำการกล่าวโทษมาสู่จิตวิญญาณของตนในโลกนี้และการสูญเสียนิรันดรในโลก ที่จะมาถึง เพราะพระผู้เป็นเจ้าแห่งสวรรค์ทรงปล่อยให้สิ่งเหล่านี้เป็นทางเลือก ของแต่ละคน เราจึงไม่ประสงค์จะริดรอนสิทธี้ของผู้ใด เราประสงค์แต่เพียง กระทำส่วนของคนยามที่ซึ่อสัตย์ตามพระดำรัสของพระเจ้าที่มาถึงเอเสเถียล ศาสดา (เอเสเถึยล บทที่ 33 ข้อ 2, 3, 4, 5) และปล่อยให้ผู้อื่นทำตามที่ พวกเขาเห็นดีเห็นงาม”17

“นี่คือหลักธรรมเบื้องด้นประการหนึ่งของชีวิตข้าพเจ้า และหลักธรรมหนึ่ง ซึ่งข้าพเจ้าได้รับการปลูกผิงมาตั้งแต่เด็กตามการสอนของคุณพ่อคือให้ทุกคนใช้ เสรีภาพของความรู้สึกผิดชอบ…ในความรู้สึกส่วนตัว ข้าพเจ้าพร้อมเสมอที่ จะตายเพื่อปกป้องสิทธี้อันชอบธรรมของคนอ่อนแอและผู้ถูกกดขี่”18

“อย่าเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับศาสนาของผู้ใด ระบอบการปกครองทั้งหมดควร อนุญาตให้ทุกคนนับถือศาสนาของตนได้โดยไม่ก้าวก่าย ไม่มีมนุษย์คนใดได้รับ มอบอำนาจให้ปลิดชีวิตเพราะความแตกต่างทางศาสนา ซึ่งกฎหมายและระบอบ การปกครองทั้งหมดควรเป็ดกว้างและคุ้มครอง ไม่ว่าจะถูกหรือผิด”19

“เราจะ… สร้างสันติสุขและมิตรภาพกับคนทั้งปวง จดจ่ออยู่กับงานของเรา ประสบความสำเร็จอย่างสูง และเป็นที่เคารพนับถือ เพราะเมื่อเราเคารพผู้อื่นก็ เท่ากับเราเคารพตนเอง”20

“แม้ข้าพเจ้าจะไม่เคยยัดเขียดหลักคำสอนของข้าพเจ้าให้ใคร แต่ข้าพเจ้า ปลื้มป็ติที่ได้เห็นอคติเป็ดทางใม้ความจริง และหลักธรรมอันบริสุทธี้แห่งพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ขจัดประเพณีนิยมของมนุษยัใม้หมดไป”21

ข้อเสนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ-ⅹⅱ

  • อ่านทวนเรื่องราวของโจเซฟ สมิธเมื่อท่านพูดกับทหารม้าน (หม้า 367-369) ท่านคิดว่าเหตุใดศาสดาจึงนิ่งสงบได้ในสถานการณ์นี้ พิจารณาตัวอย่าง อื่นที่ท่านเห็นจากคนที่ยังคงนิ่งสงบและมีสันติสุขในสถานการณ์ยุ่งยาก การ กระทำของคนเหล่านี้เกิดผลอะไรม้าง

  • อ่านทวนหม้า 369-370 เพื่อหาคำและวลืมื่ศาสดาใข้อธิบายเกี่ยวกับสันติ- สุขและผู้สร้างสันติ คุณลักษณะใดม้างที่ช่วยให้เราเป็นผู้สร้างสันติในม้าน และชุมชนของเราได้

  • อ่านย อหม้าที่สี่ในหม้า 371 ท่านรู้สึกอย่างไรเมื่อมองหาความผิดพลาดของ ผู้ อื่น ท่านรู้สึกอย่างไรเมื่อมองหาคุณลักษณะอันดีงามในผู้อื่น ท่านคิดว่าผู้อื่น รู้สึกอย่างไรเมื่อท่านใข้เวสายอมรับคุณลักษณะอันดีงามของพวกเขา

  • อ่านย่อหม้ามื่ห้าในหม้า 371 เราเกื้อหนุนกันในด้านใดได้ม้าง ผู้อื่นท่าอะไร เพื่อเกื้อหนุนท่าน การกระทำเช่นนั้นนำไปสู่สันติสุขอย่างไร

  • อ่านทวนหม้า 371-374 เพื่อหาคำสอนของศาดาเกี่ยวกับวิธีมื่เราควรปฏิบัติ ต่อผู้มีความเชื่อทางศาสนาต่างจากเรา เราจะเคารพสิทธี้ของผู้อื่นในการ “นมัสการอย่างไร มื่ใด หรือสิ่งใดมื่เขาจะนมัสการ” ได้อย่างไร

  • อ่านย่อหม้าแรกในหม้า 374 เราจะแบ่งปันพระกิตติคุณมื่ได้รับการฟื้นฟูกับ ผู้อื่นและแสดงความเคารพต่อความเชื่อของพวกเขาไปพร้อมๆ กันได้อย่างไร

ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: เอเฟซัส 4:31-32; โมไซยา 4:9-16; 4 มีไฟ 1:15— 16; ค.พ. 134:2-4, 7

อ้างอิง

  1. Lucy Mack Smith, “The History of Lucy Smith, Mother of the Prophet,” 1844-45 manuscript, book 15, pp. 8-10 หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท้เลศซิตี้ ยูทาห์

  2. History of the Church, 6:245-46; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนและไวยากรณให้ทันสมัย; จาก “A Friendly Hint to Missouri” บทความที่เขียน ภายใต้การกำกับดูแลของโจเซฟ สมีธ 8 มี.ค. 1844 นอวู อิลลินอยส์ จัด พิมฟ้ไน Times and Seasons, Mar. 15, 1844, p. 473.

  3. จดหมายที่โจเซฟ สมีธและคนอื่นๆ เขียนถึงสมาชิกศาสนาจักรในธอมพ์สัน โอไฮโอ 6 ก.พ. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; Letter Book 1, 1829-35, p. 26, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  4. History of the Church, 6:219-20; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก “Pacific Innuendo” บทความที่ เขียนภายใต้การกำกับดูแลของโจเซฟ สมีธ 17 ก.พ. 1844 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมฟ้ไน Times and Seasons, Feb. 15, 1844, p. 443; Times and Seasons ฉบับนี้จัดพิมพ์ล่าช้า

  5. History of the Church, 2:122; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมีธและคนอื่นๆ เขียนถึงจอห์น ลินคอล์นและคนอื่นๆ 21 มี.ย. 1834 เคลย์เคาน้ตี้ มีสซูรี จัด พิมพ์ไน Evening and Morning Star, July 1834, p. 176.

  6. History of the Church, 1:368; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมีธและที่ปรึกษา ของท่านในฝ่ายประธานสูงสุดเขียนถึง วิลเลียม ดับเบิลยู. เฟลพ์สและพี่น้อง ชายในมีสซูรี 25 มี.ย. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  7. History of the Church, 1:444; จาก ข้อมูลบันทึกส่วนตัวของโจเซฟ สมีธ 19 พ.ย. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  8. History of the Church, 5:388; จาก ำปราศรัยของโจเซฟ สมีธเมื่อ 14 พ.ค. 1843 ในเยลโรเม อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้

  9. History of the Church, 3:383-84; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมีธเมื่อ 2 ก.ค. 1839 ในมอนโทรส ไอโอวา; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้และ วิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  10. History of the Church, 4:226; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมีธและไฮรับ สมีธ เขียนถึงสิทธิชนในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ 19 ต.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์

  11. หลักแห่งความเชื่อข้อ 11

  12. History of the Church, 2:6-7; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมพ์ไน Evening and Morning Star, Feb. 1834, p. 135.

  13. จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงไอแซค กอลแลนด์ 22 มี.ค. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มิสซูรี จัดพิมพ็ไน Times and Seasons, Feb. 1840, pp. 5556.

  14. History of the Church, 5:498-99; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมีธเมื่อ 9 ก.ค. 1843 ในนอว อิลลินอยส์; รายงานเดย วิลลารด รีชารดส; ดู ภาค ผนวก หน้า 604 ข้อ 3 ด้วย

  15. History of the Church, 3:303-4; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธและคนอื่นๆ เขียนถึงเอ็ดเวิร์ด พาร์ทริดจ์และศาสนา จักร 20 มี.ค. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มิสซูรี

  16. History of the Church, 5:156; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงเจมส์ อาร์ ลิงตัน เบนณ็ต 8 ก.ย. 1842 นอวู อิลลินอยส์; นามสกุลของเจมส์ เบนเน็ต (Bennet) สะกดไวใน History of the Church เป็น “Bennett” ซึ่ง ไม่ถูกต้อง

  17. History of the Church, 4:45, footnote; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอน และไวยากรณให้ทันสมัย; จากจดหมาย ที่ฝ่ายประธานสูงสุดและสภาสูงเขียนถึง สิทธิชนที่อาศัยอยู่ทางตะวันตกของ เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ 8 ธ.ค. 1839 คอมเมิร์ซ อิลลินอยส์ จัดพิมฟ่ไน Times and Seasons, Dec. 1839, p. 29.

  18. History of the Church, 6:56-57; จากคำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 15 ต.ค. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์; ดู ภาค ผนวก หน้า 604 ข้อ 3 ด้าย

  19. History of the Church, 6:304; จาก ำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 7 เม.ย. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็ วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ โธมัส บัลล็อค และวิลเลียม เคลย์ตัน; ดู ภาคผนวกหน้า 604 ข้อ 3 ด้าย

  20. History of the Church, 6:221; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงบรรณาธิการ Nauvoo Neighbor 10 ก.พ. 1844 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมฟ่ไน Nauvoo Neighbor, Feb. 21, 1844; จดหมายฉบับนี้ลงวันที่ 19 ก.พ. 1844 ไวัใน History of the Church ซึ่งไม่ถูกต้อง

  21. History of the Church, 6:213; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงโจเซฟ แอล. เฮย์วูด 13 ก.พ. 1844 นอวู อิลลินอยส์

ภาพ
Joseph with militiamen

ในเมืองฟารัเวสด้ รัฐมืสซู่ร เมื่อกองกำลังอาสาสมัครติดอาวุธกลุ่มหนึ่งมาจับกุมโจเซฟ สมืธ ท่าน“มองหน้าพวกเขาด้วยรอยยิ้มทื่ดูสบายใจมาก และเดินเข้าไปจับมือพวกนั้นทีละคน”

ภาพ
Sermon on the Mount

ไนคำเทศนาบนภูเขา พระผู้ช่วยให้รอดทรงสอนว่า “บุคคลผู้ไดสร้างสันติผู้นั้นเป็นสุข เพราะว่าพระเจ้าจะทรงเรียกเขาว่าเป็นบุตร”