คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 27: จงระวังผลขมของ การละทิ้งความเชื่อ


บทที่ 27

จงระวังผลขมของ การละทิ้งความเชื่อ

“ในการทดลองทั้งหมดของท่าน ความยากลำบาก และความเจ็บป่วยในความทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงของท่าน แม้จนถึงความตายจงระวังอย่าทรยศพระผู้เป็นเจ้า…จงระวังอย่าละทิ้งความเชื่อ”

จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ

ในช่วงหลายสัปดาห์ก่อนและหลังจากพระวิหารเกิร์ทแลนด์แล้วเสร็จในฤดู ใบไม้ผลิ ค.ศ. 1836 สิทธิชนประสบกับเวลาของความปรองดองและการหลั่ง เทของประทานแห่งพระวิญญาณอย่างมากมาย แต่ศาสดาใจเซฟ สมิธเตือน สิทธิชนว่าถ้าพวกเขาไม่ดำเนินชีวิตอย่างชอบธรรมต่อไป ความป็ติยินดีและ ความเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันของพวกเขาจะไม่เหลือ “ทุกคนรู้สึกว่าพวกเขาได้ ลิ้มรสสวรรค์ล่วงหม้า ความจริงแล้วมีหลายสัปดาห์ที่เราไม่ถูกมารล่อลวง และ เราสงสัยว่านิลเสเนียมเริ่มแล้วหรือ [ที่การประชุมของพี่ม้องชายฐานะปุโรหิต] ศาสดาโจเซฟปราศรัยกับเรา นอกจากเรื่องอื่นแล้ว ท่านกล่าวว่า ‘พื่ม้องทั้งหลาย เพราะบางเวลาซาตานไม่มีอำนาจล่อลวงท่าน บางท่านคิดว่าจะไม่มีการล่อลวง อีก แต่ฝ่ายตรงข้ามจะมา และหากท่านไม่ใกล้ชิดพระเจ้า ท่านจะพ่ายแพ้และ ละทิ้งความเชื่อ”1.

ขณะที่ป็ทั้นล่วงไป วิญญาณของการละทิ้งความเชื่อขยายตัวท่ามกลางสิทธิชน บางคนในเคิร์ทแลนด์ สมาชิกบางคนกลายเป็นคนจองหอง ละโมบ และไม่เชื่อ ฟ้งพระบัญญัติ ม้างก็โทษผู้นำศาสนาจักรเพราะปัญหาเศรษฐกิจอันเนื่องจาก ความล้มเหลวของสถาบันการเงินเคิร์ทแลนด์ที่สมาชิกศาสนาจักรจัดตั้งขึ้น ความล้มเหลวตังกล่าวเกิดขึ้นในป็ ค.ศ. 1837 ป็เดียวกันกับที่วิกฤตการธนาคาร ลุกลามทั่วสหรัฐ ผสมผสานอับปัญหาเศรษฐกิจของสิทธิชน สมาชิกสองสาม ร้อยคนตกไปจากศาสนาจักรในเกิร์ทแลนด์ บางครั้งก็ไปสมทบอับคนที่ต่อต้าน ศาสนาจักรเพื่อก่อกวนและแม้ถึงอับท่าร้ายร่างกายสิทธิชน ผู้ละทิ้งความเชื่อ บางคนป่าวประกาศไปทั่วว่าศาสดาล้มแล้วและพยายามให้คนอื่นดำรงตำแหน่ง แทนท่าน ซิสเตอร์อีใสซา อาร์. สโนว์จำไล้ว่า “คนมากมายที่เคยอ่อนน้อมถ่อม ตนและซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ทุกอย่าง–––พร้อมจะไปและท่าการเรียกทุก อย่างของฐานะปุโรหิต–––เกิดความโอหังในวิญญาณของเขา และลำพองในความ จองหองของใจเขา ขณะที่สิทธิชนหลงใหลในความรักและวิญญาณของโลก พระวิญญาณของพระเจ้าทรงถอนไปจากใจเขา”2.

เกี่ยวกับสถานการณ์ของศาสนาจักรในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1837 ศาสดา คร์าครวญดังนี้ “ดูราวกับว่าพลังอำนาจทั้งหมดของแผ่นดินโลกและนรกจะ ผนึกกำลังกันเป็นพิเศษเพื่อล้มล้างศาสนาจักรในคราวเดียว…ศัตรูไปทั่วทุก ห้วระแหงและผู้ละทิ้งความเชื่ออยู่ท่ามกลางพวกเรา ร่วมมือกันในแผนการของ พวกเขา… และคนมากมายไม่พอใจข้าพเจ้าราวกับข้าพเจ้าเป็นล้นเหตุของ ความชั่วร้ายเหล่าทั้นที่ข้าพเจ้าพยายามขัดขวางจนถึงที่สุด”3.

แม้จะมีการท้าทายเหล่านี้ แต่ผู้นำและสมาชิกส่วนใหญ่ของศาสนาจักรยังคง ซื่อสัตย์ บริกัม ยังก์สมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสองในช่วงเวลาผันผวนเช่นนี้ จำไล้ว่ามืการประชุมหนึ่งซึ่งสมาชิกบางคนของศาสนาจักรกำลังถกเถียงกันเพื่อ หาวิธีปลดศาสดาใจเซฟออกจากตำแหน่ง “ข้าพเจ้าลุกขึ้นยืน และบอกพวกเขา ล้วยลำพูดที่โน้มน้าวใจและตรงไปตรงมาว่าโจเซฟ สมิธเป็นศาสดาและข้าพเจ้า ทราบเช่นนั้น พวกเขาอาจจะต่อว่าต่อขานและใส่ร้ายป็ายสีท่านไล้เท่าที่พวกเขา พอใจ [แต่] พวกเขาไม่สามารถทําลายการแต่งตั้งศาสดาของพระผู้เป็นเจ้าไล้ จะทำได้ก็แต่ทำลายสิทธิอำนาจของตนเอง ดัดเยื่อใยที่บัดพวกเขาติดกับศาสดา และกับพระผู้เป็นเจ้า และทำให้ตนเองจมดิ่งลงนรก หลายคนโมโหมากที่ ข้าพเจ้ายืนหยัดต่อล้านการกระทำของพวกเขา…

“การประชุมเลิกกลางกันโดยผู้ละทิ้งความเชื่อไม่สามารถรวมพลังกระทำการ ต่อล้านใดๆ ไล้ นึ่คือวิกฤตเมื่อแผ่นดินโลกและนรกดูเหมือนจะร่วมมือกันล้ม ล้างศาสดาและศาสนาจักรของพระผู้เป็นเจ้า ศรัทธาของคนเข้มแข็งที่สุดมาก มายหลายคนในศาสนาจักรสั่นคลอน ในช่วงที่ความมืดโอบล้อมข้าพเจ้ายืนเคียง ข้างโจเซฟ และทุ่มเทสุดกำลังโดยใช้สติปัญญาและพลังอำนาจทิ้งหมดที่พระผู้เป็นเจ้าประทานให้ข้าพเจ้าสนับสมุนผู้รับใช้ของพระผู้เป็นเจ้าและทำให้โควรัม ของศาสนาจักรเป็นน้ำาหนึ่งใจเดียวกัน”4.

คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ

การไม่ไว้วางใจผู้นำศาสนาจักร การวิพากษ์ตำหนิผู้นำ และการละเลยหน้าที่ที่พระผู้เปึนเจ้าทรงเรียกร้อง อาจนำไปสู่การละทิ้งความเชื่อ

“ข้าพเจ้าจะให้กุญแจไขความลับลึกของอาณาจักรแก่ท่านหนึ่งดอก เป็น หลักธรรมนิรันดร์ที่ดำรงอยู่ลับพระผู้เป็นเจ้ามาชั่วนิรันดรั นั่นคือ คนที่ลุกขึ้น กล่าวโทษผู้อื่น จับผิดศาสนาจักร และพูดว่าคนเหล่านั้นออกนอกลุ่นอกทาง ส่วนตัวเขาเป็นคนชอบธรรม เมื่อนั้นจะรู้แน่นอนว่าคนๆ นั้นอยู่ในทางหลวงที่ น่าไปสู่การละทิ้งความเชื่อ และหากเขาไข่กลับใจ พระผู้เป็นเจ้าทรงพระชนม์ อยู่ฉันใด เขาจะละทิ้งความเชื่อแน่นอนฉันนั้น”5

อีเบอร์ ซี. คิมบัลล์รายงานขณะรับใช้เป็นที่ปรึกษาของประธานบริอัม ยังก์ ดังนี้ “ข้าพเจ้าจะให้กุญแจท่านดอกหนึ่งซึ่งบราเดอรัโจเซฟ สมิธเคยให้ในนอวู ท่านกล่าวว่าก้าวหนึ่งของการละทิ้งความเชื่อเริ่มจากความไม่ไว้วางใจผู้น่าของ ศาสนาจักรและอาณาจักรนี้ และเมื่อใดก็ตามที่ท่านสังเกตเห็นวิญญาณนั้นขอให้ ท่านรู้ว่าวิญญาณตังกล่าวจะน่าผู้ครอบครองไปบนถนนสู่การละทิ้งความเชื่อ”6

วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ์กล่าวขณะรับใช้เป็นสมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสองว่า “บราเดอรัโจเซฟเคยแนะนําเราในหานองนี้ ‘ทันทีที่ท่านยอมให้ตนเองละทิ้ง หน้าที่ใดก็ตามที่พระผู้เป็นเจ้าทรงเรียกให้ท่านปฏิบัติ และสนองความปรารถนา ของตัวท่าน ทันทีที่ท่านยอมให้ตนเองกลายเป็นคนไม่สนใจใยดี ท่านกำลังวาง รากฐานของการละทิ้งความเชื่อ จงระวัง จงเข้าใจว่าท่านได้รับเรียกมาสู่งาน และ เมื่อพระผู้เป็นเจ้าทรงขอให้ท่านหางานนั้น จงท่า’ อีกเรื่องหนึ่งที่ท่านพูดคือ ‘ใน การทดลองทั้งหมดของท่าน ความยากลำบากและความเจ็บป่วย ในความทุกข์ ทั้งหลายทั้งปวงของท่าน แห้จนถึงความตาย จงระวังอย่าทรยศพระผู้เป็นเจ้า จงระวังอย่าทรยศฐานะปุโรหิต จงระวังอย่าละทิ้งความเชื่อ’”7

วิลฟอร์ด วูดรัฟฟักล่าวด้วยว่า “ข้าพเจ้าจำได้ว่าบราเดอร์โจเซฟ สมิธมา เยี่ยมข้าพเจ้า บราเดอร์ [จอห์น] เทย์เลอร์ บราเดอร์บริคัม ยังก์ ลับผู้สอน ศาสนาอีกหลายคนตอนที่เรากำลังจะไปทํางานเผยแผ่ในประเทศอังกฤษ พวก เราหลายคนป่วยและทรมานมาก ขณะเดียวลันเราก็รู้สึกว่าด้องไป ศาสดาให้พร เรา ให้พรภรรยาและครอบครัวของเราด้วย… ท่านสอนหลักธรรมสำคัญมาก บางข้อแก่เรา บางข้อซึ่งข้าพเจ้าจะยกขึ้นมากล่าวในที่นี้ บราเดอร์เทย์เลอร์ ตัว ข้าพเจ้า จอร์จ เอ. สมิธ จอห์น อี. เพจ และคนอื่นๆ ได้รับเรียกให้ดำรงตำแหน่งแทน [อัครสาวก] ที่ตกไปแล้ว บราเดอร์โจเซฟบอกเราถึงสาเหตุที่ชาย เหล่านั้นหันหลังให้พระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า ท่านหวังว่าเราจะเรียนรู้ปัญญา จากสิ่งที่เราเห็นกับตาและได้ยินมากับหู และว่าเราจะสามารถเล็งเห็นวิญญาณ ของคนอื่นๆ ได้ โดยไม่จำเป็นด้องเรียนรู้จากประสบการณ์อันน่าเศร้าเหล่านั้น

“ท่านกล่าวต่อจากนั้นว่าใครก็ตาม เอ็สเตอร์คนใดก็ตามในศาสนาจักรและ อาณาจักรนี้ ผู้ดำเนินตามวิถึที่ทําให้เขามองข้าม หรืออีกนัยหนึ่งคือ ปฏิเสธที่จะ เชื่อฟ้งกฎหรือพระบัญญัติหรือหน้าที่ใดก็ตามที่เขารู้–––เมื่อใดก็ตามที่ คนๆ หนึ่งทําสิ่งนี้ ละเลยหน้าที่ที่พระผู้เป็นเจ้าทรงเรียกร้องจากมือเขาให้เข้าร่วมการ ประชุม ทํางานเผยแผ่ หรือเชื่อฟ้งคำแนะนํา คนๆ นั้นได้วางรากฐานเพื่อนําเขา ไปสู่การละทิ้งความเชื่อและนึ่คือเหตุผลที่คนเหล่านั้นตก พวกเขาใข้ฐานะปุโรหิตที่ผนึกบนศีรษะพวกเขาอย่างผิดๆ พวกเขาเพิกเฉยไม่ยอมขยายการเรียก ในฐานะอัครสาวก ในฐานะเอ็ลเดอร์ พวกเขาใข้ฐานะปุโรหิตนั้นเพื่อพยายาม เสริมสร้างตนเองและทํางานอื่นนอกเหนือจากการเสริมสร้างอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า”8.

คริสต์ศักราช 1840 สมาชิกกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งของศาสนาจักรยังคงอยู่ใน เมืองเคิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอ แม้สิทธิชนส่วนใหญ่จะไปรวมกันที่เมืองนอวู รัฐ อิลลินอยส์ ในการตอบสนองต่อข่าวที่สมาชิกคนหนึ่งของศาสนาจักรในเคิร์ทแลนต์พยายามทำลายความไว้วางใจที่สิทธิชนมืต่อฝายประธานสูงสุดและเจ้า หน้าที่ท่านอื่นของศาสนาจักร ศาสดาเขียนถึงผู้นำศาสนาจักรท่านหนึ่งในเคิร์ทแลนต์ดังนี้ “เพื่อดำเนินกิจธุระของอาณาจักรในความชอบธรรม นับเป็นเรื่อง สำคัญที่จะมืความปรองดองอันดีเลิศ ความรู้สึกดี ความเข้าใจดี และความไว้ วางใจในใจพื่น้องชายทุกคน ควรแสดงความใจบุญที่แห้จริงและความรักที่มืต่อ กันในการดำเนินงานทิ้งหมดของพวกเขา หากมืความรู้สึกไร้เมตตาปรานีต่อกัน ขาดความไว้วางใจกัน อีกไม่นานความจองหอง ความยโสโอหัง และความอิจฉา จะปรากฎ ความสับสนวุ่นวายด้องเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และเจ้าหน้าที่ ของศาสนาจักรย่อมถูกเหยียดหยาม…

“ล้าสิทธิชนในเกิร์ทแลนด์คิดว่าข้าพเจ้าไม่คู่ควรแก่คำสวดอ้อนวอนของ พวกเขาเมื่อพวกเขามาชุมนุมกัน และไม่คิดจะสนับสนุนข้าพเจ้า ณ บัลลังก์ แห่งพระคุณจากสวรรค์ นั่นย่อมเป็นข้อพิสูจน์ที่หนักแน่นและชัดเจนต่อข้าพเจ้า ว่าพวกเขาไม่มีพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า ถ้าการเป็ดเผยที่เราได้รับเป็นความ จริง ใครจะด้องนำผู้คน ถ้ามอบกุญแจของอาณาจักรใส่มือข้าพเจ้า ใครจะเป็ด เผยความลี้ลับของอาณาจักรนั้น

“ตราบที่พี่น้องของข้าพเจ้ายืนเคียงข้างข้าพเจ้าและให้กำลังใจข้าพเจ้า ข้าพเจ้าย่อมต่อสู้กับอคติของโลกได้ ทนต่อ [การปฏิบัติอันหยาบกระด้าง] และ ความทารุณเหยียดหยามได้ด้วยความยินดี แต่เมื่อใดพี่น์องของข้าพเจ้าดีตน ออกห่าง เมื่อใดที่พวกเขาเริ่มอ่อนกำลัง พยายามขัดขวางความถ้าวหน์าและงาน ของข้าพเจ้า เมื่อนั้นข้าพเจ้าคงรู้สึกเศร้าเสียใจ แต่จะตั้งใจทำงานเหมือนเติม โดยเชื่อนั่นว่าแห้เพื่อนทางโลกจะไม่สนับสนุน แห้ถึงอับหันมาต่อด้านข้าพเจ้า แต่พระบิดาบนสวรรค์จะทรงทำให้ข้าพเจ้าได้รับชัยชนะ

“อย่างไรก็ดี ข้าพเจ้าคิดว่าแห้แต่ในเมืองเคิร์ทแลนด์ก็ยังมืบางคนที่ไม่ใส่ ความคนอื่นด้วยถ้อยกำของเขา [ดู อิสยาห์ 29:21] แต่มีแนวโน้มว่าจะยืนหยัด ปกป็องความชอบธรรมและความจริง ทำหน้าที่ทุกอย่างที่กำหนด พวกเขาจะมื สติปัญญาชี้นําตนเองต่อด้านการเคลื่อนไหวหรืออิทธิพลใดก็ตามอันจะก่อให้ เกิดความสับสนวุ่นวายและความร้าวฉานในค่ายอิสราเอล และแยกแยะระหว่าง วิญญาณของความจริงอับวิญญาณของความผิดได้

“ข้าพเจ้าคงพอใจถ้าได้เห็นสิทธิชนในเมืองเคิร์ทแลนด์รุ่งเรือง แต่คิดว่าเวลา นั้นยังมาไม่ถึง ข้าพเจ้ารับรองอับท่านว่าเวลานั้นจะไม่มาจนกว่าจะจัดระเบียบสิ่ง ต่างๆ เสียใหม่และมืวิญญาณต่างจากเติม เมื่อใดที่ความนั่นใจกลับคืนมา เมื่อ ใดที่ความจองหองหมดไป และความมุ่งมาดปรารถนาทุกอย่างห่อหุ้มด้วยความ อ่อนน้อมถ่อมตนเสมือนหนึ่งสวมอาภรณ์ ความเห็นแก่ตัวให้ที่แก่ความเมตตา กรุณาและความใจบุญ และมองเห็นความตั้งใจแน่วแน่ที่จะดำเนินชีวิตตามกำทุก กำซึ่งออกมาจากพระโอษฐ์ของพระเจ้า เมื่อนั้นสันติสุข ระเบียบ และความรัก ย่อมเกิดขึ้น และจะเกิดขึ้นไม่ได้จนกว่าจะถึงเวลานั้น

“เพราะคนมักใหญ่ใฝ่สูงเมืองเคิร์ทแลนด์จึงถูกทอดทิ้ง บ่อยครั้งเพียงใดที่ผู้ รับใช้ซึ่งอ่อนน้อมถ่อมตนของท่านถูกคนเช่นนั้นอิจฉาในดำแหน่งหน้าที่ของ เขา คนที่พยายามยกตนขึ้นสู่อำนาจโดยทำให้ผู้รับใช้คนนั้นได้รับความเสียหาย และเมื่อเห็นว่าเหลือวิสัยที่จะทำเช่นนั้น จึงหันมาใส่ร้ายปัายสี ทารุณเหยียด หยาม และทำทุกวิถีทางเพื่อถ้มถ้าง คนเช่นนั้นนักเป็นคนแรกที่ส่งเสียงต่อด้าน ฝ่ายประธาน ประจานความผิดและข้อบกพร่องเล็กๆ น้อยๆ ของพวกท่านไป ทั่วสารทิศ”9

ผู้ละทิ้งความเชื่อจะสูญเสียพระวิญญาณของพระผู้เปึนเจ้า ฝ่าฟีนพันธสัญญา และมักข่มเหงสมาชิกของศาสนาจักร

“อาจจะดูแปลก แต่ก็แปลกไม่น้อยกว่าที่เป็นจริงเมื่อฉุกคิดขึ้นมาได้ว่า ทั้งที่ ประกาศความตั้งใจแล้วว่าจะดำเนินชีวิตเหมือนอย่างพระผู้เป็นเจ้า แต่หลังจาก หันหลังให้ศรัทธาในพระคริสต์ หากไม่กลับใจโดยเร็ว ไมชาก็เร็วผู้ละทิ้งความ เชื่อจะตกลงไปในกับดักของคนชั่วคนนั้นเพื่อทําให้ความชั่วของพวกเขาประจักษ์แก่ตาฝูงชน และจะไม่มืพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้าหลงเหลืออยู่เลย คนซื่อสัตย์ด้องรับการข่มเหงรุนแรงมื่สุดจากผู้ละทิ้งความเชื่อ ยูดาสถูกตำหนิ และขายพระเจ้าของเขาไว้ในมือศัตรูทันที เพราะซาตานเข้ามาในตัวเขา

“มืความรู้แจ้งมื่เหนือกว่ามอบให้คนเช่นนั้นเมื่อเชื่อฟ้งพระกิตติคุณด้วยความ ตั้งใจเต็มที่ ซึ่งหากทําบาปต่อด้าน ผู้ละทิ้งความเชื่อย่อมถูกทิ้งให้เปลือยเปล่า และไม่มืพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า และความจริงคือไม่นานเขาจะถูกสาป แช่ง และจุดจบของเขาคือถูกเผา เมื่อความสว่างซึ่งเคยอยู่ในเขาถูกนําไปจาก เขา เขาจะถูกทําให้มืดมนเท่าลับมื่เคยถูกทําให้สว่างมาแล้ว และเมื่อนั้นคงไม่แปลกล้าเขาใช้พลังทั้งหมดต่อด้านความจริง และเช่นเดียวกับยูดาส เขาแสวง หาความพินาศให้คนมื่มืพระคุณต่อเขามากมื่สุด

“ยูดาสมีเพื่อนบนแผ่นดินโลกหรือในสวรรค์ที่สนิทกว่าพระผู้ช่วยให้รอด หรือไม่ เป้าหมายประการแรกของเขาคือทําลายพระองค์ ในบรรดาสิทธิชนทั้งหมดในวันเวลาสุดห้ายนี้ ใครจะคิดได้ว่าตนดีเท่าพระเจ้าของเรา ใครดีพร้อม เท่าพระองค์ ใครบริสุทธิ์เท่าพระองค์ ใครศักดสิทธิ์เท่าพระองค์ เราพบคนเช่น นั้นหรือไม่ พระองค์มิเคยล่วงละเมิดหรือฝ่าฟีนพระบัญญัติหรือกฎของสวรรค์ —ไม่มืคำหลอกลวงในพระโอษฐ์ของพระองค์ ทั้งไม่พบความผิดในพระหัยของ พระองค์ แต่คนมื่รับประทานลับพระองค์ คนมื่ดื่มจอกเดียวลันลับพระองค์บ่อย ครั้งคือคนแรกมื่ยกลันเห้าให้พระองค์ คนมื่เหมือนพระ คริสต์อยู่ที่ไหน เราไม่พบคนเช่นนั้นบนแผ่นดินโลก แล้วเหตุใดผู้ติดตามพระองค์จึงบ่นว่าด้วยเล่าหาก พวกเขาด้องรับการข่มเหงจากคนมื่พวกเขาเคยเรียกว่าพื่น้อง และถือว่ามืความ ใกล้ชิดสนิทสนมมื่สุดในพันธสัญญาอันเป็นนิจ

“แหล่งใดเป็นบ่อเกิดของหลักการซึ่งผู้ละทิ้งความเชื่อจากศาสนาจักรที่แท้ จริงแสดงใท้เห็นมาตลอดโดยพยายามเป็นสองเท่าเพื่อข่มเหง และบากบั่นเป็น สองเท่าเพื่อพยายามท้าลายผู้ที่พวกเขาเคยบอกว่ารัก เคยติดต่อด้วย และเคย ทําพันธสัญญาว่าจะพยายามอย่างเต็มสติกำลังในความชอบธรรมเพื่อใท้ได้ที่ พำนักของพระผู้เป็นเจ้า บางทีพื่ท้องของเราอาจจะพูดแบบเดียวกับที่ทําใท้ซาตานพยายามล้มล้างอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า เพราะตัวเขาคือมาร และอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าบริสุทธี้”10.

“ในทุกยุคทุกสมัยของศาสนาจักรมีผู้ต่อด้านหลักคุณธรรมเสมอมา ผู้รักผล ประโยชน์ของโลกปัจจุบัน ดำเนินตามหลักการของอธรรม และเป็นอริกับความ จริงมาดลอด…คนที่คบหาสมาคมกับเราและแสดงมิตรภาพออกมาอย่างโจ่ง แจ้งนักเป็นศัตรูที่คอยทําลายล้างเรามากที่สุดและเป็นปรปักษ์ที่เด็ดเดี่ยวที่สุด ของเรา ถ้าพวกเขาไม่เป็นที่นิยมชมชอบ ถ้าพวกเขาเสียผลประโยชน์หรือเสีย ศักดศรี หรือล้าสืบทราบความชั่วของพวกเขา พวกเขานักเป็นคนแรกที่ลงมือ ข่มเหง ใส่ร้าย [พูดให้ร้าย] และป้ายความผิดให้พื่น์องของพวกเขา หาเรื่องสร้าง ความล่มจมและความพินาศให้มิตรสหายของพวกเขา”11.

“คนทรยศ หรือผู้มีความเห็นขัดแย้งกับ ‘มอรมอน’ กำลังวิ่งไปทั่วโลกและ แพร่ข่าวลือที่น่ารังเกียจต่างๆ นาๆ ใส่ร้ายพวกเรา โดยคิดว่าวิธีนี้จะทำให้พวก เขาได้ความเป็นมิตรของโลก เพราะพวกเขารู้ว่าเราไม่ใช่ของโลก และโลก เกลียดขังเรา ด้วยเหตุนี้พวกเขา [โลก] จึงใช้แนวร่วมเหล่านี้ [ผู้มีความเห็นขัด แย้งกับเรา] เป็นเครื่องมือ และพยายามใช้คนเหล่านั้นก่อความเสียหายให้มาก ที่สุด หลังจากนั้นพวกเขาจะเกลียดขังแนวร่วมเหล่านี้ยิ่งกว่าเกลียดขังพวกเรา เพราะพวกเขาพบว่าคนเหล่านั้นเป็นพวกคิดคดทรยศและพวกประจบสอพลอที่ ตำิิช้า”12.

วิลฟอร์ด วูดรัฟฟืรายงานดังนี้ “ขัาพเจ้าเขัาร่วมการประชุม [หนึ่ง] ที่พระวิหาร [เคิร์ทแลนด์] [เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1837] ประธานโจเซฟ สมิธไม่อยู่ ท่านไปทำธุระให้ศาสนาจักร แต่ระยะเวลาที่ไปนานไม่ถึงครึ่งของ โมเสสคราวจากอิสราเอลไปอยู่บนภูเขา [ดู อพยพ 32:1–8] คนจำนวนมากใน เคิร์ทแลนด์มิได้หล่อรูปโคไว้กราบไหว้เหมือนชาวอิสราเอล แต่ได้หันใจไปจาก พระเจ้าและจากใจเซฟผู้รับใช้ของพระองค์ ฉวยโอกาสตอนที่ท่านไม่อยู่เป็ดทาง ให้วิญญาณเท็จ จนพวกเขามืจิตใจมืดดับ หลายคนต่อด้านโจเซฟ สมิธ ห้างก็ คิดจะแต่งตั้งเดวิด วิดเมอร์ให้นําศาสนาจักรแทนโจเซฟ ท่ามกลางความหม่น มัวของวิญญาณมืดดังกล่าว โจเซฟกลับไปเคิร์ทแลนด์ และลุกขึ้นยืนที่แท่นพูด เช้านี้ ดูเหมือนท่านจะกลัดกลุ้มมาก แตไม่นานพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้าก็ สถิตลับท่าน และท่านปราศรัยต่อที่ประชุมด้วยความชัดเจนยิ่งประมาณสาม ชั่วโมงจนศัตรูของท่านไม่กล้าโด้แย้งแห้แต่กําเดียว

“เมื่อท่านลุกขึ้นยืน ท่านพูดว่า ‘ช้าพเจ้ายังคงเป็นประธาน ศาสดา ผู้พยากรณ์ ผู้เป็ดเผย และผู้นําของศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์ พระผู้เป็นเจ้าทรง แต่งตั้งและวางป้าพเจ้าไว้ในตำแหน่งนี้ ไม่ใช่มนุษย์ และไม่มืมนุษย์คนใดหรือ คนกลุ่มใดมือำนาจถอดถอนป้าพเจ้าหรือแต่งตั้งคนอื่นแทนช้าพเจ้า และคนที่ ทําเช่นนั้น หากเขาไม่กลับใจโดยเร็ว เท่าลับเขารนหาที่และจะด้องตกนรก’ ท่าน ตำหนิผู้คนอย่างรุนแรงเพราะบาป ความมืดดับ และความไม่เชื่อของพวกเขา พลังอำนาจของพระผู้เป็นเจ้าอยู่ลับท่าน และยืนยันว่าคำพูดของท่านถูกด้อง”13.

วิลฟอร์ด วูดรัฟฟืรายงานดังนี้ “ประธานสมิธพูดตอนบ่าย [วันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1837] และกล่าวในพระนามของพระเจ้าว่าการพิพากษาของพระผู้เป็นเจ้า จะมาถึงคนที่เคยประกาศว่าเป็นสหายของท่าน สหายของมนุษยชาติ และใน ขณะเสริมสร้างเคิร์ทแลนด์ สเตคแห่งไซอัน เขากลับกลายเป็นผู้ทรยศหักหลัง ท่าน และผลประโยชน์ของอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า และใส่อำนาจไว้ในมือ ศัตรูใหัต่อต้านเรา พวกเขากดขี่สิทธิชนที่ยากจน นำความเดือดร้อนมาใหัคน เหล่านั้น และกลายเป็นผู้ฝ่าฟีนพันธสัญญาซึ่งจะทําใหัพวกเขารู้สึกถึงพระพิโรธ ของพระผู้เป็นเจ้า”14

ดาเฟียล ไทเลอร์เล่าว่า “หลังจากศาสดาออกจากคุกมิสซูรีมาถึงคอมเมิร์ซ (อยู่ติดลับนอวู) ไต้ไม่นาน ข้าพเจ้ากับบราเดอร์ใอแซค เบฮูนินก็ไปเยี่ยมท่าน ถึงที่พัก การข่มเหงท่านเป็นหัวข้อการสนทนาของเรา ท่านพูดทบทวนอกําบอก เล่าผิดๆ มากมายที่ไม่สอดคล้องและขัดแย้งกันของผู้ละทิ้งความเชื่อ สมาชิก ที่หวาดผวาของศาสนาจักร และคนนอก ท่านบอกต้วยว่าเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ผู้ ปรารถนาจะปลิดชีวิตท่านตอนท่านถูกจับต่างหันมาเข้าข้างท่านโดยทําความคุ้น เคยกับท่าน ท่านตำหนิพวกพี่น้องจอมปลอมเหล่านี้…

“เมื่อศาสดาเล่าจบแล้วว่าผู้คนปฏิบัติต่อท่านอย่างไร บราเดอร์เบฮูนินกล่าว ว่า ‘ถ้าผมออกจากศาสนาจักรนี้ ผมจะไม่ทําอย่างที่พวกเขาทํา ผมจะไปใหัไกล หูไกลตาเพี่อจะไม่ไต้ยินเรื่องของชาวมอรมอนอีก และจะไม่มืใครรู้ว่าผมรู้เรื่อง ของชาวมอรมอน’

“ผู้พยากรณ์ที่ยี่งใหญ่ตอบทันทีว่า ‘บราเดอร์เบฮูนิน คุณไม่รู้หรอกว่าคุณจะ ทําอะไร เป็นไปไต้มากว่าคนเหล่านี้เคยคิดแบบคุณ ก่อนเข้าร่วมศาสนาจักรนี้ คุณยืนอยู่ตรงกลางระหว่างความดืกับความชั่ว เมื่อมีการสั่งสอนพระกิตติคุณ ความดีและความชั่ววางอยู่ตรงหน้าคุณ คุณจะเลือกหรือไม่ก็ไต้ มีนายสองฝ่าย ชวนคุณมารับใข้เขา ตอนที่คุณเข้าร่วมศาสนาจักรนี้คุณสมัครเข้ามารับใข้พระผู้เป็นเจ้า เมื่อคุณท่าเช่นนั้นคุณไต้ล้าวออกจากพื้นที่ตรงกลาง และคณจะกลับไป อีกไม่ไต้ หากคุณทิ้งนายที่คุณสมัครเข้ามารับใข้ นั่นเป็นเพราะการเสี้ยมสอนของ คนชั่วคนนั้น และคุณจะทําตามอำบอกของเขาและเป็นผู้รับใข้เขา’”15

หากเราทำตามศาสดา อัครสาวกและการเป็ดเผยของศาสนาจักร เราจะไม่หลงทาง

ออร์สัน ไฮด์ สมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสอง รายงานดังนี้ “โจเซฟศาสดา กล่าวว่า ‘พี่น้องทั้งหลาย จำไล้ว่าคนส่วนใหญ่ของคนกลุ่มนี้จะไม่หลงทาง และ ตราบที่คุณเดินตามคนส่วนใหญ่ คุณจะไต้เข้าอาณาจักรชั้นสูงแน่นอน’”16

วิลเลียน จี. เนลสันรายงานดังนี้ “ผมเคยได้ยินศาสดาพูดต่อหน้าสาธารณชนหลายครั้ง ในการประชุมครั้งหนึ่งผมได้ยินท่านพูดว่า ‘ข้าพเจ้าจะให้กุญแจที่ ไม่มีวันขึ้นสนิมแถ่ท่าน—ถ้าท่านจะอยู่กับอัครสาวกสิบสองส่วนใหญ่ และบัน ทึกของศาสนาจักร จะไม่มีใครทําให้ท่านหลงทางได้’ ประวัติศาสตร์ของศาสนา จักรพิสูจน์มาแล้วว่านึ่เป็นความจริง”17

เอซรา ที. คลาร์กจำได้ว่า “ผมได้ยินศาสดาโจเซฟพูดว่าท่านจะให้กุญแจ ดอกหนึ่งแก่สิทธิชนซึ่งจะไม่มีวันนำพวกเขาออกนอกทางและหลอกพวกเขา กุญแจดอกนั้นคือพระเจ้าจะไม่มีวันยอมให้คนส่วนใหญ่ของคนกลุ่มนี้ถูกบักด้ม ตุ๋นหลอกหรือนำออกนอกทาง ทั้งพระองค์จะไม่ทรงยอมให้บันทึกของศาสนา จักรนี้ตกไปอยู่ในมือศัตรู”18.

ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและลอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนเรื่องราวในหน้า 341–342 ท่านคิดว่าเหตุใดผู้คนจึงเปลี่ยนจากความ ชอบธรรมไปลู่การละทิ้งความเชื่อได้ในช่วงเวลาอันสั้น ทุกวันนี้มีอิทธิพล อะไรห้างที่ทําให้ผู้คนละทิ้งความเชื่อ เราทําอะไรได้น้างเพื่อป้องกันอิทธิพล ดังกล่าว

  • มีอันตรายอะไรน้างจากการไม่ไว้วางใจผู้นำศาสนาจักรของเราและวิพากษ์ตำหนิพวกท่าน (ดูตัวอย่างในหน้า 343–346) เราทําอะไรได้น้างเพื่อจะยังคง รู้สึกเคารพและชื่นชมผู้นำของเรา บิดามารดาทําอะไรได้น้างเพื่อส่งเสริมบุตร หลานให้เคารพผู้นำศาสนาจักร

  • ศาสดาสอนดังนี้ “ทันทีที่ท่านยอมให้ตนเองละทิ้งหน้าที่ใดก็ตามที่พระผู้เป็นเจ้าทรงเรียกให้ท่านปฏิบัติ และสนองความปรารถนาของตัวท่าน… ท่านกำลังวางรากฐานของการละทิ้งความเชื่อ” (หน้า 343) ข้อความนี้มีความหมายต่อท่านอย่างไร

  • อ่านเรื่องที่เล่าโดยดาเมียล ไทเลอร์ (หน้า 349) ท่านคิดว่าเหตุใดคนที่ละทิ้ง ความเชื่อจากศาสนาจักรจึงมักต่อด้านศาสนาจักรอย่างรุนแรง (ดูตัวอย่างใน หน้า 346–349) ท่านคิดว่าเราควรตอบสนองอย่างไรต่อคำพูดและการกระทำ ของคนเช่นนั้น

  • อ่านสามย่อหน้าสุดท้ายของบท (หน้า 349–350) เหตุใดจึงสำคัญที่เราจะ เข้าใจและใช้ “กุญแจ” ดอกนี้ที่โจเซฟ สมิธมอบให้

ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: 1 นีไฟ 8:10–33; ฮีลามัน 3:33–35; ค.พ. 82:3, 21; 121:11–22

อ้างอิง

  1. Daniel Tyler, “Incidents of Experience” ใน Scraps of Biography (1883) , p. 32–33.

  2. Eliza R. Snow, Biography and Family Record of Lorenzo Snow (1884) , p. 20; เปลี่ยนเครื่องหมาย วรรคตอนให้ทันสมัย

  3. History of the Church, 2:487–88; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book B–l, p. 761 หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนา จักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุค สุดท้าย ซอลท้เลคซิตี้ ยูทาห้

  4. บริคัม ยังก์ ในสำนักงานนักประว้ติ ศาสตร์ Manuscript History of Brigham Young, 1844–46, vol. 1, p. 16 หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  5. History of the Church, 3:385; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 2 ก.ค. 1839 ในมอนโทรส ไอโอวา; รายงาน โดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็และวิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  6. Heber c. Kimball, Deseret News, Apr. 2, 1856, p. 26; เปลี่ยนตัวสะกด ให้ทันสมัย

  7. Wilford Woodruff, Deseret News, Dec. 22, 1880, p. 738.

  8. Wilford Woodruff, Deseret News: Semi-Weekly, Sept. 7, 1880, p. 1; เปลี่ยนเครื่องหมายวรรคตอนให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า

  9. History of the Church, 4:165–66; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงออสิทอร์ แกรนเจอร์ ก.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์

  10. History of the Church, 2:23; เปลี่ยนตัวสะกด เครื่องหมายวรรคตอน และไวยากรณให้ทันสมัย; ปรับเปลี่ยน การแบ่งย่อหน้า; จาก “The Elders of the Church in Kirtland, to Their Brethren Abroad,” Jan. 22, 1834 จัดพิมพ์ใน Evening and Morning Star, Apr. 1834, p. 152.

  11. “John c. Bennett” บทความที่จัด พิมพ์ไน Times and Seasons, Aug. 1, 1842, p. 868; เปลี่ยนเครื่องหมาย วรรคตอนและไวยากรนํให้ทันสมัย; โจเซฟ สมิธเป็นบรรณาธิการวารสาร

  12. History of the Church, 3:230; คำ ในวงเล็บชุดที่หนึ่งและสองอยู่ในต้นฉบับ; จากจดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียน ถึงสมาชิกศาสนาจักรในคาลด์เวลส์ เคาน้ตี้ มิสซูรี 16 ธ.ค. 1838 คุกสิเบอร์ตี้ สิเบอร์ตี้ มิสซูรี

  13. วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้ ขณะรายงานคำ ปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 19 ก.พ. 1837 ในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; “History of Wilford Woodruff,” Deseret News, July 14, 1858, p. 85; เปลี่ยนไวยากรณให้ทันสมัย; ปรับ เปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า

  14. วิลฟอร์ด วูดรัฟฟั ขณะรายงานคำ ปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 9 เม.ย. 1837 ในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; “History of Wilford Woodruff,” Deseret News, July 14, 1858, p. 86.

  15. Daniel Tyler ใน “Recollections of the Prophet Joseph Smith,” Juvenile Instructor, Aug. 15, 1892, pp. 491–92; เปลี่ยนเครื่อง หมายวรรค ตอนและไวยากรณให้ทันสมัย

  16. Orson Hyde, Deseret News: Semi-Weekly, June 21, 1870, p. 3.

  17. William G. Nelson ใน “Joseph Smith, the Prophet,” Young Woman’s Journal, Dec. 1906, p. 543; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า

  18. Ezra T. Clark, “The Testimony of Ezra T. Clark,” July 24, 1901 ฟาร์มิงตัน ยูทาห้; ใน Heber Don Carlos Clark, Papers, ca. 1901–74 เอกสารพิมพ์ดีด หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

ภาพ
sacrament meeting

โจเซฺฟ สนิธสอนความสำคัญของการสนับสนุนผู้นำศาสนาจักรของเราดังนี้ “คนที่ลุกขึ้นกล่าวโทษผู้อื่น จับผิดศาสนาจักร และพูดว่าคนเหล่านั้นออกนอกลู่นอกทาง ส่วนตัวเขาเป็นคนชอบธรรม…คนๆ นั้นอยู่ในทางหลวงที่นำไปลู่การละทิ้งความเชี่อ”

ภาพ
Judas betraying Jesus

“ยูดาสมีเพื่อนบนแผ่นดินโลกหรือโนสวรรค์ที่สนิทกว่าพระผู้ช่วยให้รอดหรือไป เป้าหมายประการแรกของเขาคือทำลายพระองค์”