คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 21: พยายามเป็นคนดีรอบคอบ


บทที่ 21

พยายามเป็นคนดีรอบคอบ

เราจะพยายามทำให้พระบัญญัติที่ว่า ‘‘เหตุฉะนี้ท่านที่งหลายจงเป็นคนดีรอบคอบ” บรรลุผลได้อย่างไร?

บทน่า

ประธานฮาโรลด์ บี. ลี สอนถึงความสำคัญของการทำตามตัวอย่างของพระผู้ช่วย ให้รอดขณะที่เราพยายามเป็นคนดีรอบคอบ ตังนี้

“ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าพระอาจารย์มิเพียงคิดถึงความดีรอบคอบในเซิงเปรียบเทียบ เท่านั้นเมื่อพระองค์ตรัสว่า ‘เหตุฉะนี้ท่านทั้งหลายจงเป็นคนดีรอบคอบเหมือนอย่าง พระบิดาของท่านผู้ทรงสถิตในสวรรค์เป็นผู้ดีรอบคอบ, [มัทธิว 5:48]…ท่านคิดว่า พระผู้ช่วยให้รอดทรงกำลังแนะนำเบีาหมายที่ไม่อาจบรรลุได้และทรงเย้ยหยันความ เพียรพยายามของเราที่จะดำเนินชีวิตให้บรรลุความดีรอบคอบอย่างนั้นหรือ? เป็นไป ไม่ได้ที่เราจะบรรลุถึงสภาพของความดีรอบคอบในชีวิตมตะตังที่พระอาจารย์ตรัสไว้แต่ ในชีวิตนี้เราวางรากฐานซึ่งเราจะสริางในนิรันดร ตังนั้น เราจึงต้องแน่ใจว่ารากฐานของ เราวางอยู่บนความจริง ความชอบธรรม และศรัทธา เพื่อให้เราบรรลุเป็าหมาย เราต้อง รักษาพระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า ชื่อสัตย์จนถึงที่สุดของชีวิตนี้ และดำเนินต่อไป ในความชอบธรรมและความรู้หลังจากเลียชีวิตไปแล้ว จนเรากลับเป็นตังพระบิดาบน สวรรค์ของเรา…

“…[อัครสาวกเปาโล] บอกเป็นนัยถึงเส้นทางสู่ความดีรอบคอบ ท่านพูดถึงพระ เยซูว่า ‘ถึงแม้ว่าพระองค์ทรงเป็นพระบุตร พระองค์ก็ทรงเรียนรู้ที่จะนอบน้อมยอม เชื่อฟ้งโดยความทุกข์ลำบากที่พระองค์โต้ทรงทน เมื่อพระเจ้าทรงท่าให้พระเยซู เพียบพร้อมทุกประการแล้ว พระเยซูก็เลยทรงเป็นแหล่งกำเนิดแห่งความรอด นิรันดรสำหรับคนทั้งปวงที่เชื่อพระองค์’ (ฮีบรู 5:8-9)…

“…อย่าให้วันใดผ่านไปโดยมิไต้เรียนรู้จากหนังสือที่มืบทเรียนอันยิ่งใหญ่แห่งชีวิต [ของพระคริสต์] ซึ่งเป็นหนทางสู่ชีวิตที่ดีรอบคอบ และขอให้เราเดินตามทางนั้นสู่ เป้าหมายนิรันดรของเรา”1

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

การเข้าใจว่าเราขาดอะไรช่วยให้เราดีรอบคอบได้อย่างไร?

[มี] สามสิงที่จำเป็นต่อการดลใจให้บุคคลดำเนินชีวิตเยี่ยงพระคริสต์ หรือพูดให้ ซัดเจนยิ่งขึ้นในภาษาพระคัมภีร์คือ ดำเนินชีวิตให้ดีรอบคอบยิ่งขึ้นเหมือนอย่างพระ อาจารย์ สิงแรกที่ข้าพเจ้าจะยกขึ้นมากล่าวเพื่อขยายความคือ บุคคลที่จะรับการสอน หรือผู้ที่จะดำเนินชีวิตอย่างดีรอบคอบจะต้องรู้ถึงความต้องการของตนเอง

ชุนนางหนุ่มผู้มั่งคั่งไม่จำเป็นต้องไต้รับการสอนให้กลับใจจากฆาตกรรม หรือจาก ความคืดที่จะทำร้ายชีวิต เขาไม่ต้องไต้รับการอบรมสั่งสอนถึงวิธีที่จะกลับใจจากการ เป็นชู้ การลักขโมย การโป็ปดมดเท็จ คดโกง หรือการไม่ให้เกียรติมารดา เขากล่าวว่า เขาไต้ถือปฏิบัติสิงเหล่านี้ตั้งแต่เยาว์วัย แดดำถามของเขาคือ “ข้าพเจ้ายังขาดอะไร อีกบ้าง” [ดู มัทธีว 19:16-22]

ด้วยดุลพินิจที่เฉียบแหลมของพระองค์และด้วยพลังอำนาจของครูที่ยิ่งใหญ่ พระ อาจารย์ทรงวินิจฉัยกรณีของชายหนุ่มผู้นี่ไวัอย่างสมบูรณ์แบบว่า สิงที่เขาต้องทำ และสิงที่เขาขาดคือ การเอาชนะความรักในสิงทางโลก หรือความโน้มเอียงของเขาที่ จะวางใจในความร์ารวย ครั้นแล้ว พระเยซูทรงชี้แนะ วิธีแก่ไขที่ไต้ผลไว้คังนี้ “ถ้าท่าน ปรารถนาเป็นผู้ที่ทำจนครบล้วน จงไปขายบรรดาสิงของซึ่งท่านมือยู่แจกจ่ายให้คน อนาถา แล้วท่านจะมืทรัพย์สมบัติในสวรรค์ แล้วจงตามเรามา” (มัทธีว 19:21)

ในการเปลี่ยนใจเลื่อมใสอันน่าอัศจรรย์ของอัครสาวกเปาโล เมื่อความสว่างทำให้ ท่านตาบอดขณะอยู่ระหว่างทางไปดามัสกัส…ท่านไต้ยินสุรเสียงตรัสกับท่านว่า “เซาโล เซาโลเอ๋ย เจ้าข่มเหงเราท่าไม” [กิจการ 9:4] มืดำถามจากส่วนลึกของจิตวิญญาณ อันนอบน้อมของเซาโล ดำถามดังกล่าวมักจะมาจากคนที่สำนึกว่าตนต้องท่าอะไร บางอย่าง “พระองค์เจ้าข้า พระองค์ทรงประสงค์ไห้ข้าพระองค์ท่าสิงใดหรือ” [ดู กิจการ 9:6 ฉบับภาษาอังกฤษ]…

อีน้ส หลานชายของลึไฮ เล่าถึงการต่อสู้ที่ท่านมืต่อพระพักตร์พระผู้เป็นเจ้าก่อน จะไต้รับการปลดบาป เราไม่ทราบว่า!ของท่านคืออะไร ทราบแต่ว่าท่านสารภาพบาป อย่างหมดเปลือก ต่อจากนั้นท่านกล่าวว่า “จิตวิญญาณของข้าพเจ้าหิวโหย…” [อีบัส 1:4] ท่านเห็นหรือยังว่า การตระหนักและรู้สีกถึงความต้องการอย่างรีบด่วน และการ ต้นหาจิตวิญญาณ นำพาอีน้สให้เผชิญหน้ากับสิงที่ท่านขาดและสิงที่ท่านต้องการ

คุณสมบัติในการรู้ถึงความต้องการของตนเองมีกล่าวไว้ในดำเทศนาอันยิ่งใหญ่บน ภูเขาเมื่อพระอาจารย์ตรัสว่า “บุคคลผู้ใดรู้สีกบกพร่องฝ่ายวิญญาณผู้นั้นเป็นสุข เพราะแผ่นดินสวรรค์เป็นของเขา” (มัทธีว 5:3) แน่นอนว่า ผู้ที่บกพร่องฝ่ายวิญญาณ หมายถึง คนที่มีความต้องการทางวิญญาณ คนที่รู้ลืกบกพร่องทางวิญญาณจน ต้องร้องขอความช่วยเหลือ…

หากเราจะบรรลุความดีรอบคอบ เราทุกคนต้องถามตัวเองด้วยคำถามนี้สักครั้งว่า “ฉันยังขาดอะไรอีกบ้าง” หากเราอยากจะเริ่มต้นปีนขึ้นไปบนเสันทางสํความดี รอบคอบ…

การบังเกิดใหม่ช่วยให้เราดีรอบคอบอย่างไร?

สิงจำเป็นอย่างที่สองสำหรับความดีรอบคอบที่ข้าพเจ้าจะยกมากล่าวมีอยู่ในการ สนทนาของพระอาจารย์กับนิโคเดมัส ขณะที่นิ’โคเดมัสมาหาพระองค์ พระองค์ทรง ทราบดีว่าเขากำลังแสวงหาคำตอบที่หลาย ๆ คนถามพระองค์ว่า “ข้าพระองค์ต้องทำ ประการใดจึงจะรอด?” และพระอาจารย์ตรัสตอบว่า “เราบอกความจริงแก่ท่านว่า ถ้าผู้ไดไมใต้บังเกิดใหม่ ผู้นั้นจะเห็นแผ่นดินของพระเจ้าไม่ไต้” นิโคเดมัสทูลว่า “คนชราแล้วจะบังเกิดใหม่อย่างไรไต้…” พระเยซูตรัสตอบว่า “เราบอกความจริง แก่ท่านว่า ล้าผู้ไดไม่ไต้บังเกิดใหม่จากนั้าและพระวิญญาณ ผู้นั้นจะเข้าในแผ่นดิน ของพระเจ้าไม่ไต้” (ยอห์น 3:3-5)

มนุษย์ต้อง “บังเกิดใหม่” ถ้าเขาอยากจะบรรลุถึงความดีรอบคอบ ทั้งนี้เพื่อจะไต้ เห็นหรือเข้าในอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า เขาจะบังเกิดใหม่ไต้อย่างไร? นั้นเป็น คำถามเดียวกับที่อีนัสถาม ท่านคงจำคำตอบที่เรียบง่ายไต้ ซึ่งตอบกลับมาว่า “เพราะ ศรัทธาของเจ้าในพระคริสต์ผ่ซึ่งเจ้าไม่เคยไต้ยินหรือเห็นมาก่อน และหลายปีจะผ่าน ไปก่อนที่พระองค์จะทรงแสดงองค์ให้ประจักษํในเนื้อหนัง ดังนั้นจงไปเถิด ศรัทธา ของเจ้าท่าให้เจ้าสมบูรณ์แล้ว” [อีนัส 1:8]

วันหนึ่ง ขณะที่ข้าพเจ้ากับบราเดอรัมาเรียน จี. รอมนีย์นั้งอยู่ในสำนักงาน เด็ก หนุ่มคนหนึ่งเดินเข้ามาหา เขาเตรียมจะไปเป็นผู้สอนศาสนา เขารับการสัมภาษณ์ ตามปกติ และไต้สารภาพการล่วงละเมิดบางอย่างในวัยเยาว่ไปแล้ว แต่เขาพูดกับเรา ว่า “การสารภาพไม่ไต้ท่าให้ผมสบายใจเลยครับ ผมจะทราบไต้อย่างไรครับว่าผมไต้ รับการอภัย” อีกนัยหนึ่งคือ “ผมจะทราบไต้อย่างไรครับว่าผมบังเกิดใหม่” เขารู้ว่า จะไปเป็นผู้สอนศาสนาไม่ไต้ไนสภาพนี้

ขณะที่เราคุยกัน บราเดอรัรอมนิย์กล่าวว่า “ลูกพ่อ ลูกจำสิงที่กษัตริย์เป็นจามีน กล่า’วไวัใต้ไหม? ท่านกำลังสั่งสอนคนที่รู้สิกแปลบปลาบใจเนื่องด้วย ‘สภาพแห่ง กามตัณหาของตนเอง แม้น้อยกว่าผงธุลีของแผ่นดินโลก และเขาทั้งหมดร้องออกมา เป็นเสืยงเดียวกันว่า: โอ้ทรงโปรดเมตตา และทรงโปรดใช้[ลหิตที่ซดใช้ของพระคริสต์ เพื่อพวกข้าพระองค์จะไต้รับการอภัยบาปของข้าพระองค์ และใจของข้าพระองค์จะ ถกท่าให้บริสุทขึ้ เพราะข้าพระองค์เชื่อในพระเยซคริสต์ พระบุตรของพระผู้เป็นเจ้า ผู้ทรงสร้างสวรรค์และแผ่นดินโลกและทุกสิง ผู้จะเสด็จลงมาในบรรดาลูกหลานมนุษย์ และเหตุการณ์!ด้บังเกิดขึ้นคือ หลังจากพวกเขาพูดข้อความนี้แล้ว พระวิญญาณของ พระเจ้าก็เสด็จมาบนเขา และเขาเต็มไปด้วยความสุข โดยที่ได้รับการปลดจากบาป ของเขา และโดยความสงบในจิตสำนึกเพราะศรัทธายิ่งที่เขามีอยู่ในพระเยซูคริสต์…”, (โมไซยา 4:2-3)

บราเดอร์รอมนึย์กล่าวกับเขาว่า “ลูกพ่อ ขอให้ลูกคอยและสวดอ้อนวอนจนกว่า จะมีความสงบในจิตสำนึกเพราะศรัทธาที่ลูกมีค่อการซดใช้ของพระเยซูคริสต์ และลูก จะรู้ว่าบาปของลูกได้รับการอภัยแล้ว” นอกจากนี้แล้ว ดังที่เอ็ลเดอร์รอมนึย์อธิบาย เราต่างก็อ่อนกำลัง และเรากำลังท่องไปในม่านหมอกจนกระทั่งเราได้บังเกิดใหม่…

ท่านจะมีชีวิตเยี่ยงพระคริสต์!ม่ได้…หากไม่ได้บังเกิดใหม่ คนเราจะไม่มีความสุข ต่อพระพักตร์พระผู้บริสุทขึ้แห่งอิสราเอลเลยหากปราศจากการชำระให้สะอาดและ การท่าให้บริสุทธ…

การดำเนินชีวิตตามพระบัญญัติอย่างเคร่งครัด จะช่วยให้เราติรอบคอบได้อย่างไร?

สุดท้ายก็มาถึงสิงจำเป็นอย่างที่สาม นั่นก็คือ ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักพระกิตติคุณโดย ดำเนินชีวิตตามพระกิตติคุณ ความเพียรพยายามสูงสุดของบุคคลต้องมาก่อนความ แน่นอนทางวิญญาณซึ่งจำเป็นต่อความรอด ความพากเพียรส่วนดัวด้องมาก่อนพระ คุณหรือของประทานได้เปล่าจากอำนาจแห่งการซดใช้ของพระเจ้า ทบทวนสิงที่นึไพ่ กล่าวอีกครั้ง “แม้เราจะท่าได้ทุกสิง เป็นโดยพระคุณที่เรารอด” [2 นิไพ่ 25:23

…นี่คือสิงจำเป็นอย่างหนึ่งหากท่านอยากจะมีชีวิตที่ดีรอบคอบ ท่านต้อง “ตัดสิน ใจ” ที่จะรักษาพระบัญญัติ

พระอาจารย์ทรงตอบคำถามของซาวยิวที่ว่า เขาจะแน่ใจได้อย่างไรว่าภารกิจของ พระองค์เป็นของพระผู้เป็นเจ้าหรือพระองค์ทรงเป็นแค่บุคคลธรรมดา พระองค์ ตรัสว่า “ถ้าผู้ดตั้งใจประพฤติตามพระประสงค์ของพระองค์ ผู้นั่นก็จะรู้ว่าคำสอน นั่นมาจากพระเจ้า หรือว่าเราพูดตามใจชอบของเราเอง” (ยอห้น 7:17)

ประจักษ์พยานในความจริงจะไม่มาถึงคนที่มีวิหารไม่สะอาด พระวิญญาณของ พระเจ้าและความไม่สะอาดจะอยู่ในบุคคลนั่นพร้อมกันไม่ได้ “เราพระเจ้าถูกผูกมัด เมื่อเจ้าท่าอย่างที่เรากล่าว แต่เมื่อเจ้าไม่ท่าอย่างที่เรากล่าว เจ้าย่อมไม่มีสัญญา” (ค.พ. 82:10) “…เว้นแค่เจ้าจะอยู่ในกฎของเรา เจ้าจะบรรลุถึงรัศมีภาพนี้!ม่ได้” (ค.พ. 132:21) พระคัมภีร์พูดถึงความจริงนี้ครั้งแล้วครั้งเล่า

หลักธรรมและพิธีการทั้งหมดของพระกิตติคุณมีความหมายลี่อถึงการเชื้อเชิญให้ เรียนรู้พระกิตติคุณโดยการปฏิบัติตามคำสอนในนั้น ไม่มีใครรู้จักหลักธรรมเรื่อง ส่วนสิบ จนกว่าเขาจะจ่ายส่วนสิบ ไมมีใครรู้จักหลักธรรมเรื่องพระวาจาแห่งปัญญา จนกว่าเขาจะรักษาพระวาจาแห่งปัญญา เด็กหรือผู้ใหญ่จะไม่เปลี่ยนใจเลื่อมใสในส่วน สิบ พระวาจาแห่งปัญญา การรักษาวันแซบัธให้คักดึ้สิทชื้ หรือการสวดอ้อนวอนเพราะ ไต่ยินคนอื่นพดถึงหลักธรรมเหล่านี้ เราเรียนร้พระกิตติคุณโดยการดำเนินชีวิตตาม นั้น…

ข้าพเจ้าขอสรุปว่า เราจะไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับคำสอนของพระกิตติคุณจนกว่าเรา จะประสบกับพรที่มาจากการดำเนินชีวิตตามหลักธรรมนั้น มีคนกล่าวว่า “คำสอน ทางคืลธรรมส่งผลกระทบเพียงผิวเผินต่อวิญญาณ เว้นแค่การกระทำจะสนับสนุน” ในบรรดาพระบัญญัติทั้งหมดของพระกิตติคุณ พระบัญญัติที่สำคัญต่อท่านและ ข้าพเจ้ามากที่สุดคือ พระบัญญัติที่เรียกร้องให้สำรวจการเชื่อฟังในขณะนี้ของเรา แต่ละคน เราต่างก็ต้องวิเคราะห์ความต้องการของตนเอง และเริ่มเสียแต่วันนี้ที่จะ เอาชนะ เพราะเมื่อเราเอาชนะ เราก็จะไต้ที่ในอาณาจักรของพระบิดา2

ผู้เป็นสุขเป็น “องค์ประกอบของชีวิตที่ดีรอบคอบ” อย่างไร?

ท่านต้องรู้จัก “ขั้นตอน” ที่คน ๆ หนึ่งจะยึดถือเป็นแบบแผนการดำเนินชีวิตเพื่อจะ เป็นพลเมือง หรือ “สิทธิชน” ที่มีค่าควรในอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า เราจะพบคำ ตอบที่คืที่สุดโดยการคืกษาพระชนม์ชีพของพระเยซูในพระคัมภีร์…พระคริสต์เสด็จ มาในโลกไม่เพียงเพื่อท่าการซดใช้บาปของมนุษยชาติเท่านั้น แต่เพื่อเป็นแบบอย่าง ต่อโลกถึงมาตรฐานของความดีรอบคอบในกฎของพระผู้เป็นเจ้าและในการเชื่อฟังพระ บิดา ในคำเทศนาบนภูเขาของพระองค์ พระอาจารย์ประทานการเป็ดเผยบางอย่าง ถึงพระลักษณะของพระองค์ซึ่งดีพร้อม…และเป็นพิมพ์เชียวสำหรับชีวิตของเราเอง…

ในคำเทศนาบนภูเขาที่หาใดเปรียบนั้น พระเยซูประทานแนวทางที่เด่นซัดแปด ประการแก่เรา เพื่อให้เราไต้รับ…ความปีติยินดี แค่ละข้อที่ทรงอรรถาธิบายจะมีคำว่า “เป็นสุข” อยู่ด้วย…คำประกาศเหล่านี้ของพระอาจารย์เป็นที่รู้จักในวรรณกรรมของ ซาวคริสต์ว่าผู้เป็นสุข…โดยครอบคลุมองค์ประกอบของชีวิตที่ดีรอบคอบ

เรามาพิจารณาองค์ประกอบเหล่านี้สักครู่ ลี่อย่างเกี่ยวข้องกับตัวเราเอง การดำ เนินชีวิตส่วนตัวของเรา หากเราอยากจะดีรอบคอบและพบความสุขอ้นเกิดจากความ ปีติยินดีในใจ

บุคคลผู้ใดร้ลืกบกพร่องฝ่ายวิญญาณ ผู้นั้นเป็นสุข

บุคคลผู้ใดโศกเศร้า ผู้นั้นเป็นสุข

บุคคลผู้ใดหิวกระหายความชอบธรรม ผู้นั้นเป็นสุข

บุคคลผู้ใดมีใจบริสุทธี้ ผู้นั้นเป็นสุข [ดู ม’ทธิว 5:3-4, 6, 8]

บกพร่องฝ็ายวิญญาณ

บกพร่องฝ่ายวิญญาณ คือ รู้ลืกว่าตนเองขัดสนทางวิญญาณ ต้องพึ่งพาพระเจ้า โดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นเดื้อผ้า อาหาร อากาศที่หายใจ สุขภาพ ชีวิต โดยตระหนักว่า ต้องไม่มีวันใดผ่านไปโดยไม่ไต้สวดอ้อนวอนอย่างจริงจังเพื่อขอบพระทัย เพื่อขอการ นำทางการอภัย และพลังที่เพียงพอแก่ความต้องการในแค่ละวัน หากเยาวชนรู้ถึง ความต้องการทางวิญญาณของตนเอง เมื่ออยู่ในที่ที่อันตราย ที่ซึ่งชีวิตของเขาอยู่ใน ภาวะล่อแหลม เขาจะถูกดึงมาใกล้แหล่งความจริง และไต้รับการกระตุ้นเตือนจาก พระวิญญาณของพระเจ้าในโมงแห่งความยากลำบากใหญ่หลวง แท้จริงแล้ว เป็นเรื่อง เศร้าสำหรับคนที่คืดว่าตนเองไม่ต้องพึ่งความต้องการทางวิญญาณเนื่องด้วยความ มั่งคั่ง การดึกษา หรือยศตำแหน่งทางโลก [ความบกพร่องฝ่ายวิญญาณ] ตรงข้ามกับ ความจองหองหรือความทะนงตัว…หากในความถ่อมใจของท่าน ท่านรู้ถึงความต้อง การทางวิญญาณของตน ท่านก็พร้อมเข้าสู่ “ศาสนาจักรชองพระบุตรหัวปี และเป็นผู้ ที่ลูกเลือกของพระผู้เป็นเจ้า” [ดู ค.พ. 76:54; 84:34]

โดกเศร่า

โศกเศร้า ตังบทเรียนที่พระอาจารย์ทรงสอนไว้ เราต้องแสดงให้เห็นว่า “ความ เสิยใจอย่างที่ชอบพระท้ยพระเจ้าย่อมกระทำให้กลับใจใหม่” ทำให้ผู้สำนึกผิดไต้รับ การอภัยบาป และไม่หวนกลับไปสู่การกระทำที่ทำให้เขาโศกเศร้าอีก [ดู 2 โครืนธ์ 7:10] เช่นเดียวกับอัครสาวกเปาโลเห็น เราต้อง “ชื่นชมยินดีในความทุกข์ยาก… เพราะเรารู้ว่าความทุกข์ยากนั้นทำให้เกิดความอดทน และความอดทนทำให้เห็นว่า เราเป็นคนที่พระเจ้าทรงใช่ใต้ และการที่เราเห็นเช่นนั้นทำให้เกิดมีความหวังใจ” (โรม 5:3-4) ท่านต้องเต็มใจ “แบกภาระของกันและกันเพื่อมันจะไต้เบา” ท่านต้อง เต็มใจเป็นทุกข์ (โศกเศร้า) กับคนที่เป็นทุกข์ และปลอบโยนคนที่ต้องการความ ปลอบโยน (โมไชยา 18:8-9) เมื่อมารดาโศกเศร้าเดียวดายเพราะคอยการกลับมา ของบุตรสาวที่ดื้อเนเอาแค่ใจ ท่านต้องมีเมตตาอย่าใท้ผู้ใดเอาหินขว้างเฮอก่อน… การที่ท่านโศกเศร้าร่วมกับผู้สูงอายุ หญิงม่าย และเด็กกำพร้าจะซักนำท่านให้พาผู้ ช่วยมาตามที่เขาต้องการ กล่าวอีกนัยหนึ่ง ท่านต้องเป็นเหมือนคนเก็บภาษีไม่ใช่คน ฟาริสี “ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงโปรดพระเมตตาแก่ข้าพระองค์ผู้เป็นคนบาปเถิด” [ดู ลูกา 18:10-13] รางวัลของท่านในการทำ [สิงนี้] คือ จิตวิญญาณของท่านจะได้รับ พรแห่งการปลอบโยนโดยผ่านการอภัยบาปของท่าน

หิวกระหาย

ท่านเคยรู้สีกหิวหรือกระหายจนดูเหมือนว่าเศษขนมปังเก่า ๆ หรือนี้าอุ่นจิบหนึ่ง เพื่อบรรเทาความทรมานของท่านกลายเป็นสมบัติอันล8าค่าที่สุดในเวลานั้นไหม? ถ้า ท่านหิวขนาดนั้น ท่านจะเริ่มเข้าใจว่าพระอาจารย์ทรงหมายถึงอะไรเมื่อตรัสว่าเรา ควรหิวกระหายความชอบธรรม ความหิวกระหายนั้นเองที่ซักนำผู้คนให้ออกจากบ้าน ไปแสวงหาการผูกมิตรกับสิทธิซนในพิธีศีลระลึก และจูงใจให้นมัสการในวันของ พระเจ้าไม่ว่าเราจะอยู่ที่ใดก็ตาม ความหิวกระหายนี้เองที่กระตุ้นให้เราสวดอ้อนวอน ด้วยความกระดือรือรัน นำพาเท้าของเราไปที่พระวิหารอันศักดี้สิทธี้ และกำซับเราให้ มิความคารวะเมื่ออยู่ที่นั้น ผู้ที่รักษาวันแซบัธให้ศักดี้สิทธี้จะเปียมไปด้วยความปีติ ยินดีอันเป็นนิจมากจนไม่ปรารถนาความพิงพอใจชั่วครั้งชั่วคราวที่มาจากการหมกมุ่น อยู่กับกิจกรรมที่ตรงกันข้ามกับพระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า หากท่านทูลถามด้วย “ใจจริง ด้วยเจตนาแท้จริง โดยมีศรัทธาในพระคริสต์ พระองค์จะทรงแสดงความจริง …ให้ประจักษ์แก่ท่านด้วยอ่านาจฃองพระวิญญาณบริสุทขี้” และโดยอำนาจนี้ “ท่าน จะรู้ความจริงของทุกเรื่อง” (โมโรไน 10:4-5)…

มีใจบริสุทร

หากท่านอยากเห็นพระผู้เป็นเจ้า ท่านต้องบริสุทขี้…เพื่อนบางคนยองพระเยซูเห็น พระองค์เป็นเพียงลูกของโยเซฟช่างไม้ บ้างก็คิดว่าพระองค์ทรงเป็นคนกินเติบหรือ คนขี้เมาเนื่องด้วยคำของพระองค์ บ้างก็คิดว่าพระองค์ทรงถูกมารครอบงำ มีคนชอบ ธรรมเท่านั้นที่เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นพระบุตรของพระผู้เป็นเจ้า หากท่านมีใจ บริสุฑขี้ ท่านจะเห็นพระผู้เป็นเจ้า และอย่างน้อย ท่านจะสามารถเห็น “พระผู้เป็น เจ้า” หรือความดีในมนุษย์ และรักเขาเพราะความดีที่ท่านเห็นในตัวเขา จงระวังคน ที่วิพากษ์วิจารณ์และมีเจตนาร้ายต่อคนของพระ ผู้เป็นเจ้าหรือผู้นำที่ได้รับการชโลม ของพระเจ้าในศาสนาจักรนี้ บุคคลเช่นนั้นพูดจากใจที่ไม่บริสุฑธ

แต่เพื่อจะได้เข้าสู่อาณาจักรสวรรค์ การเป็นคนดีเท่านั้นยังไม่พอ เราต้องทำเรื่อง ดีงามและมีจุดประสงค์ดีงาม ด้วยเหตุนี้ หากท่านอยากดำเนินชีวิตในแค่ละวันให้ บรรลุเป้าหมายแห่งความดีรอบคอบและความบริบูรณ์ของชีวิต ท่านต้องเรียนรู้ที่จะ รักษา “ข้อบังคับ” ที่ประการในองค์ประกอบสำหรับชีวิตที่ดีรอบคอบของพระอา- จารย์ผู้เป็นสุขต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับส้มพันธภาพทางสังคมของมนุษย์กับผู้อื่น

บุคคลผู่ใดมีใจอ่อนโยน ผู้นั้นเป็นสุข

บุคคลผู้ใดมีใจกรุณา ผู้นั้นเป็นสุข

บุคคลผู้ใดสร้างสันติ ผู้นั้นเป็นสุข

บุคคลผู่ใดต้องถูกข่มเหง ผู้นั้นเป็นสุข [ดู มัทธิว 5:5, 7, 9-10]

มีใจอ่อนโยน

คนอ่อนโยนหมายถึงคนที่ไม่ขุ่นเคืองหรือฉุนเฉียวง่าย และอดกลั้นเมื่อถูกท่าร้าย หรือไม่สบายใจ ความอ่อนโยนมีความหมายต่างจากความอ่อนแอ คนอ่อนโยนเป็น คนเข้มแข็ง มีพลัง และควบคุมอารมณ์ตนเองได้เป็นอย่างดี คนเช่นนี้มีความกล้าหาญ ในความเชื่อมั่นทางคืลธรรมทั้งที่มีแรงกดตันจากกลุ่มหรือหมู,คณะ เมื่อเกิดการโต้ แย้ง การตัดสินของเขาจะเป็นการตัดสินขั้นสุดท้ายที่ทุกคนยินดีทำตาม และคำแนะ นำที่มีสติของเขาจะระงับความหุนหันพลันแล่นของฝูงซน เขาเป็นคนที่มีความถ่อม ใจ เขาเป็นคนที่ไม’วางโต “บุคคลผู่โกรธข้าก็ดีกว่าคนมีกำลังมาก” (สุภาษิต 16:32) เขาเป็นผู้นำโดยแท้ เป็นผู้ที่กองทัพบก กองทัพเรือ วงการธุรกิจ และศาสนาจักร เลือกให้เป็นผู้นำเพื่อให้ผู้อื่นทำตาม เขาเป็น “เกลือ” ของแผ่นดินโลก และจะได้รับ แผ่นดินโลกเป็นมรดก

มีใจกรุณา

ความรอดของเราขึ้นอยู่กับความกรุณาที่เราแสดงต่อผู้อื่น คำพูดที่โหดร้ายและ ไม่มีความเห็นอกเห็นใจ หรือการกระทำทารุณต่อมนุษย์หรือสัตว์ แมํในการตอบโต้ แบบผิวเผิน สิงเหล่านี้ส่งผลให้ผู้ทำชั่วไม่มีสิทธึได้รับความเมตตาเมื่อเขาต้องการ ความเมตตาในวันแห่งการพิพากษาต่อหน้าบัลลังก์พิพากษาทั้งบนแผ่นดินโลกหรือ ในสวรรค์ มีใครไหมที่ไม่เคยถูกทำร้ายจิตใจเพราะการใส่ร้ายป้ายสิของคนที่เขาคิด ว่าเป็นเพื่อน? ท่านจำไต่ไหมว่าท่านต้องพยายามอย่างหนักที่จะไม่แก้แค้น? ทุกคน ที่มีใจกรุณาผู้นนเป็นสุข เพราะทำนจะไต้รับความกรุณาตอบ!

เป็นผู้สร้างสันติ

ผู้สร้างสันติจะไต่ซื่อว่าเป็นลูกของพระผู้เป็นเจ้า ผู้ก่อความวุ่นวาย ผู้โจมตีกฎ ระเบียบ ผู้นำกลุ่มประห้วง และผู้ละเมิดกฎไต้รับการกระตุ้นจากแรงผลักดันของ ความชั่วร้าย และหากเขาไม่เลิกล้มความตั้งใจ เขาจะไต่ซื่อว่าเป็นลูกของซาตานไม่ใช่ ของพระผู้เป็นเจ้า จงป็ดกั้นตัวท่านจากคนที่จะก่อให้เกิดความวิตกสงสัยโดยทำเล่นๆ กับเรื่องศักดสิทขึ้เพราะเขามีไต้แสวงหาสันติแต่เพื่อแพร่ขยายความสับสนวุ่นวาย คนที่ชอบทะเลาะหรือขอบขัดแย้ง และผู้ที่โต้แย้งโดยมีจุดประสงค์อื่นแต่ไม่ใช่เพื่อ ตั้งมั่นอยู่ในความจริง กำลังละเมิดหลักธรรมพื้นฐานที่พระอาจารย์ทรงวางไวิซื่งเป็น ส่วนสำคัญยิ่งของการสร้างชีวิตที่อุดมบริบูรณ์ “ส่วนบนแผ่นดินโลกสันติสุขจงมีทำม กลางมนุษย์ทั้งปวง” เป็นเพลงที่เทพร้องสรรเสริญการประสูติของเจ้าชายแห่งสันติ [ดู ลูกา 2:14]…

อดทนต่อการข่มเหงเพื่อเห็นแก’ความชอบธรรม

การถูกข่มเหงเพื่อเห็นแก่ความชอบธรรมในอุดมการณ์อันยิ่งใหญ่ซึ่งความจริง คุณธรรม และเกียรติอยู่ในภาวะส่อแหลม ถือเป็นการกระทำเยี่ยงพระผู้เป็นเจ้า มีคน ที่พลืชีวิตเป็นมรณสักขีเพื่ออุดมการณ์อันยิ่งใหญ่เสมอมา ภัยร้ายที่เกิดจากการข่มเหง ไม่ไต้มาจากการข่มเหง แต่มาจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นไต้กับผู้ถูกข่มเหงที่ถูกขด กั้นความกระตีอรือร้นในความชอบธรรมเพื่ออุดมการณ์ของเขา การข่มเหงส่วนใหญ่ มาจากการขาดความเข้าใจ เพราะมนุษย์มักจะต่อต้านสิงที่ตนเองไม่เข้าใจ บ้างก็มา จากมนุษย์ที่ยืนหยัดในความชั่วร้าย แต่ไม่ว่าจะมาจากสาเหตุใดก็ตาม โดยทั่วไปดู เหมือนการข่มเหงจะเกิดกับคนที่เกี่ยวข้องกับอุดมการณ์อันชอบธรรมที่พระอาจารย์ ทรงเตือนเรา “วิบัติแก่เจ้าทั้งหลาย เมื่อคนทั้งหลายจะยอว่าเจ้าติ เพราะบรรพบุรุษ ของเขาได้กระทำอย่างนั้นแก่ผู้เผยพระวจนะเท็จเหมือนกัน” (ลูกา 6:26)

…จงจำพระดำรัสเตือนด้งกล่าวเมื่อท่านถูกโห่ไล่และถูกเยาะเย้ยถากถางเพราะ ไม่ยอมลดมาตรฐานแห่งการบังคับใจตนเอง ความซื่อสัตย์ และคุณธรรมอันดีงาม ทั้งนี้ เพื่อจะได้รับการสรรเสริญจากผู้คน หากท่านยืนหยัดเพื่อความลูกด้องโดยไม่ คำนึงถึงเสียงหัวเราะเยาะของผู้คนหรือแม้การใช้กำลัง ท่านจะได้รับพรแห่งความ ปีติยินดีนิรันดร เป็นไปไดํไหมว่าในยุคสมัยของเรา สิทธิซนบางคนหรือแม้แต่อัคร- สาวกบางคนอาจต้องสละชีวิตเพื่อปกป้องความจริงเช่นเดียวกับในอดีต? หากเวลา นั้นมาถึงพระผู้เป็นเจ้าทรงรับรองว่าเขาจะไม่พ่ายแพ้!

ขณะที่เราค่อย ๆ ไตร่ตรองคำสอนทั้งหมดนี้ด้วยการสวดอ้อนวอน เราจะด้นพบ สิงที่อาจท่าให้บางคนตื่นตระหนกว่าในที่สุด พระผู้เป็นเจ้าไม่ได้วัดค่าของเราในอา- ณาจักรของพระองค์จากตำแหน่งอ้นสูงส่งของเราในบรรดามนุษย์หรือในศาสนาจักร ของพระองค์ หรือเกียรติที่เราได้รับ แค่วัดจากการดำเนินชีวิตและความดีที่เราท่า ตาม “องค์ประกอบสำหรับชีวิตที่ดีรอบคอบ” ซึ่งแสดงให้เห็นในชีวิตของพระบุตร ของพระผู้เป็นเจ้า

ขอให้ท่านท่าให้คำเทศนาเรื่องผู้เป็นสุขเป็นองค์ประกอบสำหรับชีวิตของตนเอง แล้วท่านจะได้รับความสุขตามที่สัญญาไวั3

ข้อ แนะนำ สำหรับการสืกษา และการสนทนา

  • เราจะเรียนรู้ทุกวันจาก “หนังสือที่มืบทเรียนอันยิ่งใหญ่” แห่งชีวิตของพระคริสต์ ได้อย่างไร?

  • ขณะที่เราพยายามเป็นเหมือนพระคริสต์ เหตุใดจึงเป็นสิงสำคัญที่เราจะทูลถาม อยู่บ่อย ๆ ว่าเราขาดอะไร?

  • ประสบการณ์ใดช่วยให้ท่านเช้าใจว่าเราเรียนรู้คำสอนของพระกีตดีคุณโดยการ ดำเนินชีวิตตามนั้น?

  • เมื่อเราตระหนักว่าเราพึ่งพาพระเจ้าสำหรับพรทุกประการในชีวิตของเรา สิงนี้จะ ส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของเราอย่างไร?

  • อะไรคือความหมายบางประการของข้อความที่ว่า “บุคคลผู้ดโศกเศร่า ผู้นั้นเป็น สุข”?

  • ความรักในสิงของทางโลกลดความหิวกระหายในเรื่องทางวิญญาณได้อย่างไร?

  • การมีใจบริสุทธี้ช่วยให้เรามองเห็นคุณความดีของผู้อื่นได้อย่างไร?

  • ความอ่อนโยนช่วยให้เราเข้มแข็งอย่างไร?

  • เราจะแสดงความกรุณาต่อผู้อื่นได้อย่างไรในชีวิตประจำวันของเรา?

อ้างอิง

  1. Decisions for Successful Living (1973), 40-41, 44.

  2. Stand Ye in Holy Places (1974), 208-16.

  3. Decisions for Successful Living, 55-62.