คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 13: การสอนพระกิตติคุณในบ้าน


บทที่ 13

การสอนพระกิตติคุณในบ้าน

บิดามารดาจะทำให้บ้านเป็นสถานที่หลบภัยและ สถานที่แห่งการเตรียมรับชีวิตนิรันดรใต้อย่างไร?

บทนำ

ประธานฮาโรลค์ บี. ลี กล่าวถึงความสำคัญของการสอนพระกิตติคุณในบ้านว่า

“เมื่อเราอ่านจากข้อเขียนของศาสดาในยุคแรก เราจะคันพบสิงที่คล้ายกับเป็น ความชั่วแอบแฝงซึ่งก่อให้เกิดความชั่วร้ายอันเป็นเหตุให้พระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงสร้าง มนุษย์ทรงกันแสง ในการเป็ดเผยต่ออีนิคศาสดาที่ซึ่อสัตย์ พระผู้เป็นเจ้าทรงประกาศ ว่าลูกหลานที่เหลืออยู่ของพระองค์ปราศจากความรักตามธรรมชาติจนถึงกับเกลียด เลือดในอกของตนเอง ซึ่งเป็นไปได้มากทีเดียวว่าหมายถึงลูกของเขาเอง

“เพื่อตอบข้อสงสัยของอีนิคที่ว่าทำไมพระองค์ทรงกันแสง พระผู้เป็นเจ้าตรัส ดังนี้ ‘…ในบรรดาฝีมือทั้งหมดของมือเรา ไม่เคยมืดวามชั่วร้ายใหญ่หลวงเซ่นนั้นดัง ในบรรดาพี่บ้องของเจ้า’

“จากนั้นพระองค์ตรัสเพิ่มเติมว่า ‘…ดูเถิด บาปของเขาจะอยู่บนดีรษะของบรรพ-บุรุษของเขา…’ (โมเสส 7:36-37) เห็นได้ชัดว่าบิดามารดาของคนรุ่นนั้นทำบาป ใหญ่หลวง นั้นคือ ไม่ทำตามบัญชาที่ให้กับบีตามารดาทั้งปวงนับตั้งแต่สมัยของแอดัม เรื่อยมาจนถึงสมัยของเราเอง เขาไม่สอนคำสอนแห่งความรอดแก่ลูกของตน

“พระเจ้าทรงเตือนเราว่า ในสมัยของโนอาเป็นเซ่นไร เมื่อบุตรมนุษย์เสด็จมาก็จะ เป็นเซ่นนั้น พระผู้เป็นเจ้าทรงประสงค์ให้คนพวกนี้เอาใจใส่การป่าวร้องของผู้นำที่เป็น ศาสดาของเรา และสอนลูกๆ ดังที่พระเจ้าทรงบัญชา เพื่อให้รอดพ้นจากพระหัตถ์ที่ ทรงดีสอนของพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงฤทธานุภาพ”1

บทนี้จะพูดถึงความรับผิดชอบอันใหญ่ยิ่งของบิดามารดาในการสอนพระกิตติคุณ และเตรียมตัวลูก ๆ ให้คำเนินชีวิตอย่างชอบธรรม

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

ทำไมบ้านจึงเป็นสถานที่สำคัญที่สุดในการสอนพระกิตติคุณ?

บ้านของเราต้องไม่เป็นเพียงสถานที่หลบภัยเท่านั้น แต่ต้องเป็นสถานที่แห่งการ เตรียมด้วย เยาวชนของเราจะสามารถก้าวออกจากบ้านด้วยความมั่นใจเพื่อนำและ เผชิญกับโลกที่สับสนวุ่นวายไต้ เราต่างก็ทราบว่าเราจดจำฝืงใจกับสิงที่เรียนรู้ในบ้าน ไต้อย่างนำประหลาด สิงที่พบเห็นภายในบ้านถ้าไม่ช่วยก็เป็นภัยต่อเยาวชนของเราใน วันข้างหน้า บ้านของเราควรเป็นแบบอย่างสำหรับมวลมนุษย์ แต่เราต้องเอาจริงเอาจัง ต่อคำแนะนำของผู้นำศาสนาจักรในเรื่องนี้มากกว่าแต่ก่อน นี่เป็นการท้าทายพิเศษ เสมอมา แต่พิเศษมากขึ้นในป้จจุบันเนื่องด้วยความเชื่อมทรามที่มีอยู่ทั่วไปในบ้าน สมัยนี้ เด็ก ๆ จะ “รู้สีกและมองเห็น” การปฏิบัติพระกิตติคุณในบ้าน เขาจะมองเห็น ความถูกต้องและอิทธิพลของบ้านโดยตรง เขาจะเห็นวิธิที่ครอบครัวสนองความ ต้องการของแต่ละบุคคล2

มีผู้กล่าวขวัญกันซํ้าแล้วซํ้าอิกว่า บ้านเป็นพื้นฐานของชีวิตที่ชอบธรรม…การเป็ด เผยของพระผู้เป็นเจ้าและการเรียนรู้ของมนุษย์ต่างก็บอกเราว่า บ้านมีความสำคัญ เพียงใดในการหล่อหลอมประสบการณ์ชีวิตทั้งหมดของคนเรา3

เห็นชัดมากขึ้นว่า บ้านและครอบครัวเป็นคุญแจสู่อนาคดของศาสนาจักร เด็กที่ ขาดความรัก เด็กที่ไม่รู้จักระเบียบวินัย การท่างาน หรือความรับผิดชอบ มักจะยอม จำนนต่อสิงทดแทนความสุขของซาตาน เช่น ยาเสพติด การทดลองทางเพศ และการ กบฏ ไม่ว่าจะทางสติป็ญญาหรือพฤติกรรมก็ตาม…

ไม่มีสถานที่แห่งใดที่สอนและใท้ความรู้เรื่องการแต่งงาน ความรัก และเพศไต้ด็ กว่าที่บ้าน โดยเรื่องเหล่านี้จะประกอบกันอย่างเหมาะสมเป็นการแต่งงานอันคักดี้สิทขึ้ ในพระวิหร ไม่มีสถานที่แห่งใดจะขจัดข้อสงสัยของเยาวชนไต้ดีไปกว่าที่ที่มีความรัก และที่นั้นคือ บ้าน ความรักท่าให้เยาวชนของเรายินดีรับพิงคนที่เขารู้จักและไวัใจไต้…

เด็กจะรักเพื่อนบ้านไต้หรือหากเขาไม่รู้จักรักตัวเอง? เยาวชนที่ไม่เคยไต้รับความ ไว้วางใจจะไวันผู้อื่นไต้หรือร ชายหนุ่มที่ไม่เคยรู้จักการทำงานหรือความรับผิดชอบ จะเข้าใจไต้หรือว่าคุณสมบัติที่สำคัญยิงเหล่านั้นจำเป็นต่อความสมัครสมานสามัคค ในสังคมของเรา? หญิงสาวที่ไม่มีส่วนในการสนทนาหลักธรรมพระกิตติคุณอย่าง เป็ดเผยตรงไปตรงมาภายในบ้านจะเผชิญกับการวิพากษํวิจารณ์ของโลกและการโจม ดีศาสนาของเธออย่างรุนแรงไต้หรือ?…หากไม่มีการนำหลักธรรมพระกิตติคุณไป ปฏิบัติก็นับว่าเป็นเรื่องยากมากที่จะเชื่อในหลักธรรมนั้น…

ในเมื่อเราเรียนรูไต้มากพอๆ กับในสมัยของโนอา เราจึงต้องช่วยให้เยาวชนของ เราเรียนรู้ที่จะทำการเลือกอย่างถูกต้อง และเพิ่มความภาคถูมิใจในตนเองอย่างเหมาะ สม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเขาอยู่ภายใตํอีทธิพลโดยตรงของบ้าน ที่ยิ่งความรักใน ครอบครัวทำให้การกลับใจมีความหมายและเป็นไปไต้ สภาพแวดลัอมนอกบานและ นอกสาสนาจักรของเยาวชนของเรามักจะไร้แก่นสารในแง่ของคุณค่า หรีอไม่ก็ประ-กอบด้วยแนติดที่ตรงข้ามกับหลักธรรมพระกิตติคุณ4

ความรับผิดชอบไหญ่หลวงในการสอนความจริงของพระกิตติคุณจนมีสมอให้แก่ จึตวิญญาณแต่ละดวงตกอยู่กับบิดามารดาในบ้านและศาสนาจักร หากปราศจากสมอ ดังกล่าว มนุษย์จะเป็นดั่ง “คลื่นในทะเลยิ่งถูกลมพัดซัดไปมา” พัดไปมาด้วยลมแห่ง คำสอนยิ่งไม่มีที่มาอันซัดเจน จึงไต้สร้ไงความสับสนให้กับความคิดของเขาเกี่ยวกัน สิงที่ไม่ถูกต้องในสายพระเนตรของพระผู้เป็นเจำ [ดู เอเฟซัส 4:14; ยากอบ 1:6] เราจะเป็นผู้คนที่รอบร้ที่สุดบนผืนแผ่นดินโลกหากเราเอาใจใล่โอวาทของพระเจ้า

หากเยาวชนของเราไต้รับการเส่รีมกำลังเช่นนี้น เขาจะไม่ถูกกระทบกระที่งในความ เยิ่อทางศาสนาเมื่อเขาต้องติดต่อสัมพันธ์กับแนวคิดผิด ๆ ทางการสืกษายิ่งตรงข้าม กับความจริงของพระกิตติคุณ เขาจะมีอาวุธด้านทานลูกดอกอาบยาพิษของการใส์ ร้ายป้ายสีและความหน้ายิ่อใจคด

เยาวชนชายทั้งหลาย…หากความจริง “พึ๋นฐาน’’ ชี้นาความคิดชองเขาในช่วงที่ เขาก่อนแอโดยไม่ร้ดัว เขาจะไม่ยอมก่อนข้อให้กับการล่อลวงอันจะเป็นสาเหตุของ ความเลี้อมทรามทางคิลธรรมตลอดชีวิตของเขา…

หากคู่รักหนุ่มสาวที่กำลังจะแต่งงานมีความจริงของพระกิตติคุณคอยชี้นำความคิด เขาจะชำระตนเองให้บริสุทธโดยการรักษากฎของการแต่งงานชั้นสูงเพื่อให้โด้ความสุข นิรันดร5

พระเจ้าตรัสว่า ซาตานมิได้รับอำนาจให้ล่อลวงเด็กเล็กๆ “จนกว่าเขาเริ่มรู้จักรับ ผิดชอบได้” (ค.พ. 29:47) พระดำรัสที่มีความหมายยิงนี้ตามมาด้วยข้อความที่ว่า “สิงใหญ่ยิงจะถูกเรียกร้องจากมือของบรรพบุรุษของเขา” (ค.พ. 29:48) ซึ่งหมาย ถึงบิดามารดานั่นเอง ทำไมพระเจ้าจึงมีทรงยอมให้ซาตานล่อลวงเด็กเล็ก ๆ จนกว่าเขา จะมีอายุที่รับผิดชอบได้? ก็เพื่อเป็ดโอกาสทองให้บิดามารดาปลูกฝืงสิงสำคัญยิง เหล่า นั่นไร้ในใจลูกน้อยของเขาก่อนจะถึงอายุที่รับผิดชอบได้ หาไม่แล้วอาจจะสายเกินไป6

เราในฐานะบิดา ครู และมารดา ต่างก็มีงานใหญ่ในการสร้างจิตวิญญาณมนุษย์ จริงๆ แล้ว ซาตานไม่สามารถล่อลวงเด็กเล็กก่อนที่เขาจะถึงอายุที่รับผิดชอบได้ แต่ ซาตานจะทำเท่าที่ทำได้โดยพยายามทำให้พวกเราซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลและ อบรมเด็กละเลย ไม่เอาใจใส่ และปล่อยให้เด็กพัฒนานิสัยเล็กๆ น้อยๆ เหล่านั่นที่ จะชักนำเขาให้เดินในทางผิด และจะ [ทำให้เขา] ไม่สามารถทำความรับผิดชอบใหญ่ หลวงในการต่อสู้กับซาตานได้ อีกทั้งไม่ยอมสวมเกราะเพื่อป้องกันตัวเองเมื่อถึงเวลา ที่เขามีอายุรับผิดชอบได้7

เราต้องทำให้บิดาทุกคนรู้สิกว่าเขาจะต้องรับผิดชอบความผาสุกนิรันดร์ฃอง ครอบครัว นั่นหมายถึงการเข้ามาในศาสนาจักรกับครอบครัว นั่นหมายถึงการไปร่วม ประชุมสืลระลึกกับครอบครัว นั่นหมายถึงการจัดลังสรรคํในครอบครัวเพื่อให้ ครอบครัวอยู่กันพร้อมหน้า นั่นหมายถึงการเตรียมตัวเองเพื่อพาครอบครัวไปพระ วิหาร ทั้งนี้เพื่อให้พร้อมสำหรับชั้นตอนต่าง ๆ ที่จะทำให้ครอบครัวเป็นนิรันดร์8

โอ้ ท่านที่เป็นมารดา ท่านที่เป็นบิดา ข้าพเจ้าขอร้องให้หันกลับมารับผิดชอบจิต วิญญาณอันลํ้าค่าเหล่านี้อย่างเต็มที่ หากท่านไม่เตรียมเขาสำหรับวันที่กำลังจะมาถึง ใครจะเตรียมเล่า? วันที่ [พระเจ้า] จะเสด็จมาเยี่ยงขโมยในยามราตรี ท่านกำลังเตรียม ตัวเขาให้พร้อมที่จะยืนอยู่เบื้องพระพักตร์พระองต่ไหม? เมื่อเขาออกไปสู่สนามรบ เมื่อเขาเผชิญกับภยันตราย และการล่อลวง ความรักของท่านในฐานะมารดาแผ่ไป ไกลหลายพันกิโลเมตรเพื่อช่วยให้บุตรหรือธิดาคนนั่นยืนหยัดนั่นคงหรือไม่?9

หลักธรรมพระกิตติคุณข้อใดที่เราควรสอนลูก?

ศาสดาอีน้สเขียนเกี่ยวกับการสอนของบิดาท่านไว้คังนี้ “ข้าพเจ้าอีน้ส โดยที่รู้จัก บิดาของข้าพเจ้าว่าเป็นคนชอบธรรม-เพราะท่านสอนข้าพเจ้าในการเลี้ยงดูและการ ตักเตือนของพระเจ้าด้วย-และขอพระนามของพระผู้เป็นเจ้าทรงพระสิริโรจนาเพราะ การนี้เถิด” (อีนัส 1:1) ข้าพเจ้าไตร่ตรองข้อความนี้ “บิดาของข้าพเจ้าสอนข้าพเจ้า ในการเลี้ยงดู” นี่หมายความว่าอะไร? เลี้ยงดูหมายถึงกระบวนการของการอบรมสั่ง สอนทางศีลธรรมและแกให้มีวินัย “บิดาสอนข้าพเจ้าและแกข้าพเจ้าให้มีวินัยโดยการ อบรมสั่งสอนทางศีลธรรม การตักเตือนหมายถึงอะไร? หมายถึงการตำหนิติเตียน หรือเตือนสติด้วยความสุภาพอ่อนโยนหรือเป็นมิตร ขอพระนามของพระผู้เป็นเจ้า ทรงพระสิริโรจนาเพราะบิดามารดาที่สอนในการเลี้ยงดูและการตักเตือนของพระเจ้า ด้วยเถิด!10

พระเจ้าตรัสไว้อย่างชัดเจนด้วยพระองค์เองเกี่ยวกับการเตรียมนี้เพื่อป็องกันเยาวชนจากหลุมพรางอันตรายที่คอยจ้องทำลายเขา พระองค์ทรงมอบหน้าที่อันสำคัญยิ่ง ให้กับครอบครัวในแผ่นตินนี้ นี่คือพระดำรัสของพระองค์

“และอนึ่ง ตราบที่บิดามารดามีลูกในไซอันหรือในสเตคใดของมันซึ่งวางระเบียบไว้ ที่ไม่สอนเขาให้เข้าใจคำสอนเรื่องการกลับใจ ศรัทธาในพระคริสต์พระบุตรของพระผู้ เป็นเจ้าผู้ทรงพระชนม์ และเรื่องบัพติศมาและของประทานแห่งพระวิญญาณบริสุทธี้ โดยการปรกมือเมื่ออายุแปดปี บาปย่อมอยู่บนศีรษะของบิดามารดา…

“และเขาจะสอนลูกๆ ของเขาให้สวดอ้อนวอนด้วย และให้เดินอย่างภาคภูมิต่อ พระพักตร์พระเจ้า” [ค.พ. 68:25, 28]11

อาวุธอันทรงพลังที่สุดที่เรามีไว้ต่อสู้กับความชั่วร้ายในโลกทุกวันนี๋ไม่ว่าความชั่วร้เย นั้นจะเป็นอะไรก็ตาม คือประจักษ์พยานอันไม่สั่นคลอนในพระเจ้าและพระผู้ช่วยให้ รอด พระเยซูคริสต์ จงสอนลูกเล็ก ๆ ของท่านขณะที่เขายังนั่งอยู่บนตักท่าน และเขา จะเติบโตเป็นคนแข็งแกร่ง เขาอาจจะออกนอกลู่นอกทางไปน้าง แต่ความรักและ ศรัทธาของท่านจะนำเขากลับมา12

บิดามารดาควรทุ่มเทแรงกายแรงใจด้วยความซื่อสัตย์สุจริตอย่าให้มีคนเกียจคร้าน เพื่อลูก ๆ จะไม่เติบโตในความชั่วร้าย แต่ได้รับการสอนให้แสวงหาของมีคำของนิรันดร อย่างตั้งใจจริง เพื่อตาของเขาจะไม่เต็มไปด้วยความจะกละ (ดู ค.พ. 68:30-31) นี่คือความรับผิดชอบของบิดามารดา พระเจ้าทรงมอบความรับผิดชอบเบื้องด้นใน การสอนครอบครัวให้แก่บิดามารดา13

เต็กทุกคนด้องได้รับการสอนว่าเขาเป็นบุตรของบิดามารดาสวรรค์ และเป็นธุระ ของเด็กทุกคนในการเรียนรู้ที่จะปฏิบัติเยี่ยงบุตรหรือธิดาของพระผู้เป็นเจ้า นั้งนี้เพื่อ ว่าในยามที่ด้องการความช่วยเหลือเขาจะสวดอ้อนวอนและมีสิทธึได้รับพระกรุณาตัง ลูกที่ซึ่อสัตย์พึงได้รับ

เด็กทุกคนต้องได้รับการสอนว่าร่างกายของเขาเป็นวิหารของพระผู้เป็นเจ้า และ ใครที่ทำใหํวหารของพระผู้เป็นเจ้าแปดเปอน พระผู้เป็นเจ้าจะทรงทำลายวิหารนั้น [ดู 1 โครินธ์ 3:16–17]

เด็กทุกคนต้องเรียนรู้ว่าการเสียสละเท่านั้นที่จะพัฒนาศรัทธาที่เพียงพอแก่ความ ดีพรัอม และหากเขาไม่เรียนรู้ที่จะเสียสละความอยากของเขาและความปรารถนา ฝ่ายเนื้อหนังเพื่อเชื่อฟังกฎของพระผู้เป็นเจ้า เขาจะไมใต้รับการชำระให้นรีสุทธึ๋และ ถูกทำให้ศักดี้สิทธี้ต่อพระพักตร์พระเจ้า

เด็กทุกคนต้องไต้รับการสอนให้มีความคารวะต่อสัญลักษณ์ของสิงศักดี้สิทธี้ และ เคารพผู้มีอำนาจในบ้าน ในคาสนาจักร และในชุมชน

เด็กทุกคนต้องไต้รับการอบรมสั่งสอนอย่างถูกต้องในการใช้มือและศีรษะ และ ต้องเช้าใจว่าความปรารถนาที่มีอยู่ทั้งหมดประทานมาจากพระผู้เป็นเจ้าและเอื้อต่อ จุดประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าหากอยู่ภายใต้การควบคุม

เด็กทุกคนต้องไต้รับการสอนให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และการเล่น ควรมีจุดประสงค์หรือมีเป้าหมาย การเล่นเป็นเพียงการแกช้อมบทบาทที่เขาจะต้อง เล่นเมื่อเป็นผู้Iหญ่

เด็กทุกคนต้องมีประสบการณ์มากพอที่จะเรียนรู้ว่า การรับใช้ที่ไม่เห็นแก่ตัวนำ ความปีติยินดีมาให้ และงานที่คน ๆ หนึ่งทำโดยไม่ไต้รับค่าตอบแทนเป็นงานที่ทำให้ เกิดความสุขอันใหญ่ยิ่งที่สุด14

ลูกของเราควรไต่ยินประจักษ์พยานของบิดามารดาในสถานที่สงบของบ้าน บิดา หรือคุณปูคุณตาที่ถือโอกาสแสดงประจักษ์พยานส่วนตัวให้ลูกหลานแต่ละคนฟังช่าง ฉลาดเลิศล้าเสียเหลือเกิน!15

การสังสรรค์ในครอบครัวช่วยให้บิดามารดาบรรลุความรับผิดชอบ ในการสอนพระกิตติคุณได้อย่างไร?

โปรแกรมการสังสรรค์ในครอบครัวเน้นหนักให้บิดามารดาสอนลูกในบ้านมากขึ้น นึ่ไม่ใช่เรื่องใหม่…ในสารฉบับล่าสุดที่ประธานบรีคัม ยัง และที่ปรึกษาของท่านเขียน ถึงศาสนาจักร เรียกร้องให้บิดามารดานำลูก ๆ มาอยู่พร้อมหน้ากันในบ้านและสอน พระกิตติคุณให้เขาบ่อย ๆ ด้วยเหตุนี้ การสังสรรค์ในครอบครัวจึงเกิดขึ้นตั้งแต่ ศาสนาจักรไต้รับการสถาปนาในสมัยการประทานนี้16

หากเราละเลยครอบครัวที่นี่ ไม่มีการสังสรรค์ครอบครัว และไม่ทำหน้าที่รับผิด ชอบของเราที่นึ่ สวรรค์จะเป็นอย่างไรหากเราสูญเสียบางคนในครอบครัวเพราะการ ละเลยของเรา? สวรรค์จะไม่เป็นสวรรค์จนกว่าเราจะทำทุกสิงที่ทำไต้เพื่อช่วยให้คนที่ พระเจ้าทรงส่งมาในเชื้อสายของเรารอด ดังนั้น ใจของบิดามารดาต้องหันไปหาลูก นับแต่เวลานี้ หากท่านมีวิญญาณของอิไลจะ และไม่คิดว่านึ่ใขํไต้เฉพาะกับคนที่อยู่ นอกม่านเท่านั้น ขอใหัIจของท่านหันไปหาลูก และสอนลูกของท่าน แต่ท่านต้องทำ เมื่อเขายังเป็นไม้อ่อนที่พอดัดไต้ และหากท่านละเลยการสังสรรค์ในครอบครัว ท่าน ก็กำลังละเลยการเริ่มต้นภารกิจของอิไลจะประหนึ่งว่าท่านกำลังละเลยงานต้นคว้าลำ ดับเชื้อสายของท่านเอง17

เรากำลังท่างานอย่างไม่หยุดหย่อนภายในแวดวงครอบครัวพร้อมกับลูก ๆ หลาน ๆ ของเราหรือไม่? เรากำลังต้นหาแกะของเราที่ตกอยู่ในอันตรายเนื่องจากพลัดหลง ออกจากฝูงหรือไม่? เรากำลังสอนครอบครัวของเรา [ใน] การสังสรรค์ในครอบครัว หรือไม่? เรามีการลังสรรคของเราเอง หรือเรากำลังพูดว่า “บทเรียนเหล่านี้ใซ้กับเรา ไม่ไต้ แม่กับพ่ออยู่กันแต่สองคน และการลังสรรค์ก็มีไว้สำหรับคนที่มีลูกเล็ก ๆ เท่า นั้น”?18

ข้าพเจ้าขอถามท่านข้อหนึ่ง หากท่านรู้ว่าท่านกำลังป่วยด้วยโรคที่รักษาไม่หาย และ เวลาของท่านบนโลกนี้มีจำกัด ท่านมีลูกเล็กๆ ที่ต้องพึ่งพาคำแนะน่า การชี้น่า และ การน่าจากท่าน ท่านจะท่าอะไรเพื่อให้เขาพร้อมสำหรับการจากไปของท่าน? ท่านเคย หยุดถามตัวเองด้วยคำถามน่าคิดเซ่นนี่ใหม?

ข้าพเจ้าจะอ่านจดหมาย [ของมารดาคนหนึ่ง] ให้ท่านฟัง “ตอนแรกที่ดิฉันเข้าร่วม ศาสนาจักร ดิฉันเคยคิดอยากจะมีครอบครัวอย่างที่หวังไว้ลักวันหนึ่ง ดิฉันถ่ายทอด ความคิดออกมาเป็นภาพของสถานการณ์ที่สวยสดงดงามและน่าพึงใจที่สุดเท่าที่พอ จะนึกไต้ ดิฉันกับสามีทำให้ภาพนั้นเป็นจริงเมื่อเราน่าลูก ๆ มาอยู่พร้อมหน้าและสอน พระกิตติคุณแก่เขา…สิงหนึ่งที่ทำให้เราประหลาดใจระคนดีใจคือความจริงที่ว่า ลูก ทุกคนของเราชอบให้มีการสังสรรค์ครอบครัว…ดิฉันเริ่มตระหนักมากชื้นเรื่อย ๆ ว่า ลูก ๆ เติบโตเร็วเหลือเกิน และเราซึ่งเป็นพ่อแม่มีเวลาอีกไม่มากนักที่จะสอนเขา…

“ดิฉันป่วยหนักเมื่อฤดูใบไม้ร่วงที่ผ่านมา และหวังว่าสิงนี้จะไม่ไร้ประโยชน์ แต่เป็น ครั้งแรกที่ดิฉันรู้ว่าตนเองสำคัญต่อลูก ๆ มากเพียงไร…ขณะที่ดิฉันล้มหมอนนอน เมื่อ ไม่สามารถดูแลลูกตามความต้องการของเขาไต้โดยรู้ว่าหากปราศจากการแทรก แซงของพระบิดาบนสวรรค์ อิทธิพลของดิฉันที่มีต่อลูกคงจะสินสุดลงในชีวิตนี้ ดู เหมือนว่าโมงยามและวันเวลาที่อยู่เบื้องหน้าเป็นสิงอันพึงปรารถนาและลํ้าคำยิ่ง

“และแล้วดิฉันก็คิดหาวิธีที่จะใช้เวลานั้น หากดิฉันมีโอกาส สิงหนึ่ง คือ ทำให้บ้าน เป็นสวรรค์น้อย ๆ บนแผ่นดินโลก ใช้เวลาตอนกลางคืนอ่านหนังลือให้ลูกฟังและพูด คุยกับเขา…นอกเหนือจากเรื่องอื่นที่เขาสนใจแล้ว ดิฉันยังไต้อ่านพระคัมภีร์มอรมอน ฉบับของเด็กให้เขาฟ้งด้วย…ดิฉันไม่สงสัยเลยว่าสิงนี้มีความหมายต่อเขามากเมื่อดิฉัน ได้ยินลูกอายุแปดขวบกล่าวขอบพระฑัยในคำสวดอ้อนวอนของเขาสำหรับศาสดาที่ เก็บรักษาบันทึก หรือเมื่อลูกชายวัยห้าขวบของดิฉันขอบพระทัยที่นีไฟหนีไปในแดน ทุรกันดารได้อย่างปลอดภัยพร้อมกับคนซื่อสัตย์เมื่อตอนที่เลมันและเลมิวเอลพยา-ยามจะฆ่าท่าน ประสบการณ์ของเราคือช่วงเวลาที่เรามีโอกาสช่วยให้ลูก ๆ แผ่ขยาย ความรักและความเข้าใจในพระกิตติคุณและพระบิดาผู้ทรงสร้างเขา เรารักกันมากขึ้น ด้วย และส่งผลให้ครอบครัวของเรามีความมั่นคงเป็นอย่างยิ่ง ด้วยเหตุผลนี้ การ สังสรรคํในครอบครัว ทุกสัปดาห์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อเรา”19

ในบ้านของท่าน ข้าพเจ้าสวดอ้อนวอนขอให้ท่านท่าดังที่โยซูวาในสมัยก่อนทำ “ส่วน ข้าพเจ้าและครอบครัวของข้าพเจ้า เราจะปรนนิบัติพระเจ้า” (โยชูวา 24:15) จงสอน ครอบครัวของท่านในการสังสรรคัในครอบครัว สอนเขาให้รักษาพระบัญญัติของพระ ผู้เป็นเจ้า เพราะในนั้นคือความปลอดภัยเพียงประการเดียวของเราในวันเวลาเหล่านี้ หากเขาจะท่าเช่นนั้น อำนาจของพระผู้ทรงฤทธานุภาพจะลงมาบนเขาดั่งนั้าด้างจาก สวรรค์ และพระวิญญาณบรืสุทขึ้จะทรงอยู่กับเขา20

ข้อแนะนำสำหรับการศึกษาและการสนทนา

  • ทำไมบ้านจึงมีความสำคัญยิ่งในการหล่อหลอม “ประสบการณ์ชีวิตทั้งหมด” ของ ลูกของเรา? ทำไมบิดามารดาจึงต้องทำให้การสอนพระกิตติคุณแก่ลูกมีความ สำคัญสูงสุดดั่งแต่ลูกยังเล็กอยู่?

  • เราจะทำให้บ้านของเราเป็นสถานที่หลบภัยจากอธรรมและความยุ่งยากของโลก นี๋ได้อย่างไร?

  • บิดามารดาจะสอนหลักธรรมในคำสอนและพันธสัญญา 68:25-28 แก่ลูกของ เขาได้อย่างไร? บิดามารดาจะช่วยให้ลูก ๆ “เรียนรู้ว่าการรับใช้อันไม่เห็นแก่ตัวน่า ความปีติยินดีมาให้” ได้อย่างไร?

  • ทำไมจึงเป็นสิงสำคัญที่ลูกจะได้ยินประจักษ์พยานที่พ่อแม่มีต่อหลักธรรมพระ กิตติคุณ?

  • ภารกิจของอิไลจะประยุกตํใช้กับบิดามารดาที่กำลังเลี้ยงดูลูกได้ในทางใด?

  • ทำไมจึงเป็นสิงสำคัญที่จะจัดสังสรรค์ในครอบครัวเป็นประจำ? ท่านสามารถทำให้ การสังสรรค์ในครอบครัวประสบผลสำเร็จได้อย่างไร?

อ้างอิง

  1. In Conference Report, Apr. 1965, 13; or Improvement Era, June 1965, 496.

  2. The Teachings of Harold B. Lee, ed. Clyde J. Williams (1996), 297-98.

  3. The Teachings of Harold B. Lee, 267.

  4. Ye Are the Light of the World (1974), 64-66.

  5. Stand Ye in Holy Places (1974), 370-71.

  6. The Teachings of Harold B. Lee, 269.

  7. The Teachings of Harold B. Lee, 268.

  8. The Teachings of Harold B. Lee, 293.

  9. The Teachings of Harold B. Lee, 276.

  10. คำปราศรัยในการประชุมใหญ่ปฐมวัยปีที่ สาม วันที่ 3 เมษายน 1959 เอกสาร สำคัญของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนา จักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุด ท้าย หน้า 1-2

  11. Decisions for Successful Living (1973), 24-25.

  12. The Teachings of Harold B. Lee, 273.

  13. The Teachings of Harold B. Lee, 277.

  14. “For Every Child, His Spiritual and Cultural Heritage,” Children’s Friend, Aug. 1943, 373.

  15. The Teachings of Harold B. Lee, 279.

  16. The Teachings of Harold B. Lee, 266-67.

  17. The Teachings of Harold B. Lee, 280-81.

  18. The Teachings of Harold B. Lee, 268.

  19. คำปราศรัยที่การประชุมการสอนประจำ น้านในการประชุมใหญ่สามัญ วันที่ 8 เมษายน 1966 เอกสารสำคัญของแผนก ประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซู คริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย หน้า 4

  20. The Teachings of Harold B. Lee, 273.